กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา ภ.ก.สมชาย ละอองพันธุ์ 086-6940954
2549 อปท.นำร่อง 888 แห่ง 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน 2552 อปท.ที่มีความพร้อม 2554 อปท.เต็มพื้นที่ผ่านการประเมิน 2557 ประกาศหลักเกณฑ์บริหารกองทุน (ให้ อปท.บริหาร)
ภาพรวมเงิน UC ปี 61 กองทุนย่อย ไต ลอกต้อ อบจ. ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ส่งเสริมป้องกัน** กองทุนย่อย ส่งเสริมป้องกันระดับชาติ(PP_nation) ไต ส่งเสริมป้องกันระดับเขต PP_A (4บ./ปชก.) ลอกต้อ ส่งเสริมป้องกันในหน่วยงานสาธารณสุข(PP_Basic) (360บ.) ส่งเสริมป้องกัน_ชุมชน** 45 บ./ปชก. กองทุนดูแล ผู้สูงอายุ ฯ กองทุนฟื้นฟู 16บ./ปชก. อปท. สมทบ 30-60% อบจ. สมทบ 100%
กรอบการทำงานเพื่อบริหารกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 61 สถานการณ์กองทุน เขต 12 สงขลา 1.กองทุนจำนวน 617 แห่งครอบคลุม 100 % ในพื้นที่ จ.ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี นราธิวาส ยะลา 2. ปี 60 คาดการณ์จะมีการใช้เงิน 250 ล้านบาทมีเงินคงเหลือสะสม 404 ลบ.(ก่อนปี 60) 3.มีกองทุนสุขภาพตำบล จำนวน 50 แห่งที่ไม่ดำเนินการโครงการหรือดำเนินงานน้อยมาก 4.จากการให้ข้อมูลของกองทุน ต้นปี 60 พบว่า ร้อยละ 90 ไม่จัดทำแผนสุขภาพชุมชน 5. การพัฒนากลไกพี่เลี้ยงประจำจังหวัดเพื่อสนับสนุนการทำงานของกองทุน 6.การพัฒนาระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์(www.localfund.happynetwork.org) 7.การมีหน่วยงานร่วมทำงานพัฒนากองทุน เช่น สจรส.มอ. สสส. เป็นต้น Goal 1.กองทุนสุขภาพตำบลจัดทำแผนสุขภาพชุมชน 100 % 2.กองทุนสุขภาพตำบลที่เงินเหลือมากที่สุด 12 อันดับแรก สามารถบริหารเงินคงเหลือไม่เงินร้อยละ 20 3. กองทุนสุขภาพตำบล สามารถบริหารเงินตามเป้าหมาย (เบิก เดือน ม.ค.=60 % และ เม.ย.=90%) 4.เกิดกลไกพี่เลี้ยง(coaching team) ทำหน้าที่พัฒนาแผนสุขภาพ โครงการแก้ปัญหาสุขภาพ 9 ประเด็น 5.กองทุนสุขภาพตำบล จำนวน 50 แห่ง(จังหวัดละ 1 อำเภอๆละ 10 กองทุน) จัดทำแผนสุขภาพและสนับสนุนโครงการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ กระบวนการ 1.พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง(coaching team) จำนวน 2 ครั้ง ผ่านหลักสูตร ครั้งที่ 1 การจัดทำแผนสุขภาพ โครงการสุขภาพ การประเมินผลแบบเสริมพลังกองทุนฯ ระเบียบ ประกาศ ครั้งที่ 2 การถอดบทเรียน ประเมินผลโครงการ 2. กิจกรรมลงสนับสนุนการทำงานและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลโดยทีมพี่เลี้ยง กองทุนละ 2 ครั้ง/ปี ครั้งที่ 1 เดือน พ.ย.-ม.ค. 61 ครั้งที่ 2 เดือน มิ.ย.-ส.ค. 61 3. การประเมินผลแบบเสริมพลังอำนาจ(Empowerment) กองทุนสุขภาพตำบล 4.พัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา เพื่อจัดทำโครงการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ 5.จัดนำเสนอผลงานและกำหนดทิศทางการทำงานกองทุน เวทีสร้างสุขภาคใต้ 61 การประเมินผลและติดตาม 1.การนำเสนอความก้าวหน้าผ่านคณะกรรมการ 5x5 และรายงานผ่าน อปสข. การลงนิเทศติดตามกองทุน 2. ติดตามการทำโครงการผ่านระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้
สัดส่วนร้อยละการเบิกเงินผ่านกองทุนสุขภาพตำบล(ออกใบเบิกเงินแล้ว) ณ 30 ก สัดส่วนร้อยละการเบิกเงินผ่านกองทุนสุขภาพตำบล(ออกใบเบิกเงินแล้ว) ณ 30 ก.ย.60
รายชื่อกองทุนสุขภาพตำบลไม่สมทบเงินเข้ากองทุน พัทลุง 1 แห่ง คือ ทต.จองถนน สงขลา 1 แห่ง คือ อบต.คลองเปียะ
12 กองทุนสุขภาพตำบลที่เงินคงเหลือสะสมมากที่สุดใน เขต 12 สงขลา จำนวนเงิน 1.เทศบาลนครหาดใหญ่ 41.1 ล้านบาท 7.เทศบาลเมืองสุไหง-โกลก 7.9 ล้านบาท 2.เทศบาลนครยะลา 22. 04 ล้านบาท 8.เทศบาลเมืองบ้านพรุ 5.4 ล้านบาท 3.เทศบาลนครตรัง 14.6 ล้านบาท 9.เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา 4.7 ล้านบาท 4.เทศบาลเมืองคลองแห 10.9 ล้านบาท 10.เทศบาลเมืองเขารูปช้าง 3.4 ล้านบาท 5. เทศบาลเมืองคอหงส์ 10.1 ล้านบาท 11.เทศบาลเมืองเบตง 6. เทศบาลเมืองปัตตานี 9.5 ล้านบาท 12. เทศบาลเมิองสตูล 3.2 ล้านบาท อปท.ขนาดใหญ่ ที่มีเงินคงเหลือสะสม 136 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 30 % ของเงินคงเหลือทั้งหมด มาตรการแก้ไข 1) การจัดปฏิบัติการทำแผนและโครงการเชิงรุก 2) การนิเทศติดตามในภาพรวมเขต
38 กองทุนสุขภาพตำบลในเขต 12 ที่ไม่ดำเนินโครงการ ตรัง สงขลา ปัตตานี อบต.กะลาเส อบต.คลองปาง อบต.เขามีเกียรติ อบต.คลองเปียะ อบต.กระหวะ อบต.ตรัง อบต.ทุ่งยาง อบต.จะโหนง อบต.แดนสงวน อบต.แหลมโพธิ์ อบต.นาหมื่นศรี อบต.วังคีรี อบต.นาหว้า อบต.บ้านขาว อบต.หนองช้างแล่น ทต.คลองต็ง อบต.ประกอบ อบต.ปลักหนู อบต.ปากบาง อบต.พะตง อบต.ระวะ อบต.สะกอม ทต.บ้านไร่ ยะลา พัทลุง สตูล นราธิวาส อบต.ถ้ำทะลุ อบต.บันนังสาเรง ทต.ทะเลน้อย อบต.เกาะสาหร่าย อบต.กาลิซา อบต.แม่หวาด อบต.ตะโล๊ะหะลอ ทต.ควนโดน อบต.ช้างเผือก อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ทม.รามันห์ อบต.รืเสาะ อบต.บาโงย อบต.ศรีสาคร ชะลอโอน จะต้องลงโครงการบริหารและโครงการปี 61 ตามยอดเงินที่จะได้ -พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อสนับสนุน
แนวทางการทำงานพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลเขต 12 สงขลา ปี 60 ระบบพี่เลี้ยงประจำกองทุนตำบล TOR พี่เลี้ยงรายจังหวัดลงสนับสนุน กองทุนตำบล พี่เลี้ยงลงให้คำปรึกษากองทุนตามที่รับผิดชอบ เช่น การปรับแผน โครงการ 2 กองทุนสุขภาพตำบล บริหารผ่านเว็บไซต์ ระบบโปรแกรมบริหารกองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ www.localfund.happynetwork.org ระบบโปรแกรม-เอกสารเดิมส่งผลต่อการทำงานกองทุนและการติดตาม
ทักษะทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล 1.จุดมุ่งหมายกองทุน ระเบียบและประกาศที่ เกี่ยวข้อง เช่น หลักเกณฑ์และดำเนินงานกองทุน สุขภาพตำบล ปี 2547 2.การทำแผนสุขภาพชุมชน 3.การทำโครงการด้านสุขภาพ 4.คอมพิวเตอร์ในการลงข้อมูลโปรแกรมระบบ บริหารกองทุนสุขภาพตำบล 5. ทักษะการเสริมพลัง(coaching)
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด การดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาเป็นแผนงานกองทุนระดับ Mappingและวางกรอบการดำเนินงาน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด การดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาเป็นแผนงานกองทุนระดับ ประเด็นร่วม:โรคเรื้อรัง โรคติดต่อ ยาเสพติด อาหาร ขยะและสิ่งแวดล้อม เด็ก คนพิการผู้สูงอายุและครอบครัว ออกแบบ และพัฒนาระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบล Online เพื่อหนุนเสริม ติดตาม และประเมินผล พัฒนาศักยภาพกลไกพี่เลี้ยง การจัดทำแผนสุขภาพ การพัฒนาโครงการ หนุนเสริม ติดตาม ประเมินผล พัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ การจัดทำแผนการดำเนินงานของกองทุน การพัฒนาโครงการตามประเด็น พี่เลี้ยงลงพื้นที่หนุนเสริมเรื่อง การทำแผนงานและการพัฒนา พิจารณาโครงการ พัฒนาและพิจารณาโครงการแต่ละกองทุนฯ การดำเนินโครงการและการลงระบบข้อมูลติดตาม ประเมินผล พี่เลี้ยงลงพื้นที่หนุนเสริมการดำเนินโครงการและการลงข้อมูลติดตามประเมินผลโครงการ การสรุปงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนการดำเนินงาน
Model การทำงานพี่เลี้ยง เขต 12 พี่เลี้ยงทั่วไป พี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง PA จังหวัด อำเภอ จำนวนกองทุน (แห่ง) สงขลา จะนะ 15 สตูล ละงู 7 ยะลา เมือง นราธิวาส ปัตตานี หนองจิก 13 พัทลุง ตรัง 57 สนับสนุนพื้นที่ ครั้งที่ 1: พ.ย.-ม.ค. ช่วยทำแผนสุขภาพ พัฒนาโครงการ ประเมินกองทุนร่วมกับคณะกรรมการ พี่เลี้ยง-คณะกรรมการกองทุน เครือข่ายร่วมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนในพื้นที่-งบบริการกองทุน พี่เลี้ยง-คณะกรรมการกองทุน-ผู้รับทุน นำเสนอโครงการเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง PA และบูรณาการอาหาร สนับสนุนพื้นที่ ครั้งที่ 2 : พ.ค.-ก.ค. ติดตามการสนับสนุนโครงการและถอดบทเรียนการทำงานกองทุน ถอดบทเรียนผลการทำโครงการ (เวทีกลาง)
ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มวัยทำงาน
ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับขอสนับสนุนเงินกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
ชุดสิทธิประโยชน์เพื่อรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนสุขภาพตำบล : กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
แนวทางพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพและจัดการระบบสุขภาพชุมชน แผนสุขภาพกองทุนตำบล ระยะเวลา 3 ปี คณะทำงาน (ท้องถิ่น จ.-สปสช.-สธ.) เป้าหมาย สปสช.เขต-สธ.- สจรส.มอ.- อปท. (กองทุนสุขภาพตำบลทุกแห่ง) ผลผลิต:แผนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี - ผู้สูงอายุ - โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน) - แม่และเด็ก - อุบัติเหตุและความปลอดภัยในชุน - ขยะและสิ่งแวดล้อม อาหาร-โภชนาการ เหล้า บุหรี่ และสารเสพติด โครงการแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี พี่เลี้ยงสนับสนุน ปรับแผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
สถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนจากการระดมความเห็นจากชุมชน 1.ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด เป็นต้น 2.ความปลอดภัยในชุมชน อาชญากรรม อุบัติเหตุ 3.โรคเรื้อรัง (เชิงรุกในชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองตาต้อ กระจก ลดภาวะโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน ) 4.โรคติดต่อ ( โรคไข้เลือดออก ฉี่หนู มาลาเรีย มือเท้าปาก) 5.อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว( ตย.โรงเรียนพ่อแม่ ) 6.ผู้สูงอายุ (สนับสนุนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผสส.) 7.อาหารและโภชนาการ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและพัฒนาการเด็ก) 8.สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะ 9.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (พฤติกรรม อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม)
ใช้เป็นเงื่อนไข ให้ สปสช.โอนเงินให้กองทุนสุขภาพตำบล กรอบแนวทางการจัดสรรเงินกองทุนสุขภาพตำบลปี 61 หากยึดตามแนวทางปี 60 ใช้เป็นเงื่อนไข ให้ สปสช.โอนเงินให้กองทุนสุขภาพตำบล
ขั้นตอนที่ 1 สปสช.แจ้งงบประมาณจัดสรร กองทุนสุขภาพตำบล ปี 2561 ขั้นตอนที่ 1 สปสช.แจ้งงบประมาณจัดสรร กองทุนสุขภาพตำบล ปี 2561
ขั้นตอนที่ 2 การปรับเกลี่ยประชากรของกองทุนสุขภาพตำบลใน เขต 12 สงขลา(ณ วันที่ 28 ก.ย.60 1.อปท.สมัครเข้าร่วม 617 กองทุน 2.ภาพรวมประชากรทุกสิทธิ์ ที่อปท.แจ้ง เกิน จำนวนที่สปสช.ดึง 3.จ.สงขลา และ ยะลา จัดสรรเท่ากับ จำนวน ปชก.ที่ อปท.แจ้ง x 45 บาท 4.นำเงินที่เกินจาก 2 จังหวัดมาปรับเกลี่ยให้ 5 จังหวัด
ข้อเสนอการบริหารกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2561 กองทุนสุขภาพตำบลต้องแสดงความจำนงร่วมป้อนข้อมูล ปชก.กลางปี (1 ก.ค.60)เพื่อประกอบการจัดสรร ต้องทำแผนสุขภาพชุมชน 9 ประเด็นปัญหาสุขภาพและป้อนข้อมูลใน ระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ (www.localfund.happynetwork.org) ป้อนชุดโครงการบริหารจัดการ 15 % (ออกแบบกิจกรรมประชุม คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ เป็นต้น) เพื่อดำเนินการบริหารฯ สปสช.เขต 12 ส่งให้โอนเงินเป็นรายงวด เดือนละ 1 ครั้ง(ต.ค.-ธ.ค.) ทุกๆ วันที่ 10 ของเดือน ชะลอการโอน กรณี กองทุนสุขภาพตำบลที่ไม่ใช้เงินทำโครงการปี 2560 (ทำโครงการน้อยกว่าร้อยละ 10 ของงบปี 60) และต้องผ่านการประชุม เพื่อทบทวนเรื่อง MOU และแนวทางการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพ ตำบลร่วมกันระหว่าง สปสช.-นายก อปท.และเลขานุการกองทุนฯ (เป็นไปตามเงื่อนไขข้อ 3 ตามแนวทาง) ยุบเลิก กองทุนสุขภาพตำบลไม่สมทบ 2 ปีติดต่อกันและไม่ทำโครงการ 2 ปี ติดกันและให้คืนเงินเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่
แนวทางการทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 ปี 61 ป้อนชุดโครงการบริหาร 15% จำนวน 1 โครงการ กรอกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชน ประชุมทุกเดือน ต.ค.-ธ.ค. พีเลี้ยงประจำกองทุน ลงประชุมร่วมคณะกรรมการ จัดพัฒนาศักยภาพ กรรมการ การทำแผน/เขียนโครงการ การประเมินผลดำเนินงาน ปี 60 ป้อนโครงการ ประเภท 7(1),(2),(3),(5) กองทุน ฯ ติดตามการทำกิจกรรม ทำแผนสุขภาพชุมชน ระยะ 3-5 ปี มี.ค.- ส.ค. ก.ย. *** ออก TOR-โอนเงินจากระบบเว็บไซต์ ม.ค.- มี.ค. พ.ย.60-ม.ค.61 พี่เลี้ยง พบกองทุนครั้งที่ 1 มิ.ย.-ส.ค. พี่เลี้ยง พบกองทุนครั้งที่ 2 เป้าหมาย เงินกองทุนสุขภาพตำบล สามารถโอนสนับสนุนผู้รับทุน >ร้อยละ 60 เงินทั้งหมด เงินกองทุนสุขภาพตำบล สามารถโอนสนับสนุนผู้รับทุน >ร้อยละ 90 เงินทั้งหมด