โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ ชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕.
Advertisements

กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
อาหาร 500 ราย 1 เครื่องดื่ม 144 ราย 2 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 1,209 ราย 3 ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก 1,570 ราย 4 การลงทะเบียน OTOP รวม 985 ราย เดิม 638.
ประชาชนในหมู่บ้านมีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ มิติคุณภาพการให้บริการ ชุมชนมีศักยภาพใน การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ มีคุณภาพได้ มาตรฐาน.
การประชุมคณะอนุกรรมการ
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
KM (Knowledge Management
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
การจัดการองค์ความรู้
โดย สโรชา ช่างปั้น พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
การส่งเสริมการป้องกันการทุจริต
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
Introduction to information System
Introduction to information System
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ CLMV
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
โดยนายทวีวัฒน์ นิ่มวรพันธุ์ ผู้อำนวยการการประปาส่วนภูมิภาคเขต 7
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
บทที่ 5 องค์กร การบริหารในองค์กรและการพัฒนางานอาชีพในองค์กร
แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
การเขียนย่อหน้า.
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
การมอบนโยบายการขับเคลื่อน
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน

แนวคิด : พัฒนากลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน โดยการบูรณาการร่วมของภาครัฐ เอกชน ประชาชน และสถาบันการศึกษาในการนำองค์ความรู้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อการต่อยอดใน เชิงพาณิชย์

เป้าหมาย : ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน 7,600 ผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการชุมชน 3,800 คน/กลุ่ม ได้รับการพัฒนาศักยภาพการผลิต ผลิตภัณฑ์ให้ตรงความต้องการของตลาด

วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ความรู้ และเทคโนโลยี พัฒนาต่อยอดให้เป็นผลิตภัณฑ์ สร้างรายได้ให้กับชุมชนเพิ่มขึ้น และพัฒนาศักยภาพในการประกอบธุรกิจของผู้ผลิต ผู้ประกอบการชุมชน

กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กิจกรรม ย่อยพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน พัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (Quadrant D) เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP ในกลุ่ม D ให้เพิ่มมูลค่า และมีขีดความสารถในการแข่งขันทางการตลาดได้ สร้างความมั่นใจในคุณภาพผลิตภัณฑ์ เป็นที่ยอมรับแก่ลูกค้า ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการ ในไตรมาส 1-3 (ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562

กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กิจกรรม ย่อยพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน 2. พัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP โดยโรงเรียน OTOP กิจกรรมที่ 1 พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการ กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (กลุ่มD) ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 1 (ตุลาคม – ธันวาคม 2561) กิจกรรมที่ 2 พัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (กลุ่มD) โดยโรงเรียน OTOP 2.1 พัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ กลุ่มปรับตัวสู่ การพัฒนา (กลุ่มD) ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 1-3 (ต.ค. 61 – มิ.ย. 62) 2.2.2 ติดตามสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 2-3 (ม.ค. – มิ.ย. 62)

2.2.3 จัดทำสื่อวีดีทัศน์ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานโรงเรียน OTOP ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 1-3 (ต.ค. 61 – มิ.ย. 62)

กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กิจกรรม ย่อยพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน 3. ส่งเสริมกระบวนการเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge – Based OTOP : KBO) 3.1 การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 1 (ตุลาคม – ธันวาคม 2561) 3.2 พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 1 - 3 (ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562) 3.3 ประกวดและเผยแพร่ผลการดำเนินงานเครือข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด (กรมฯ ดำเนินการ)

กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กิจกรรม ย่อยพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน 4. สุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP เด่น จังหวัด (Provincial Star OTOP : PSO) เพื่อคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ OTOP เด่น จังหวัด ให้เป็นเอกลักษณ์ และเข้าสู่กระบวนการส่งเสริม ยกระดับผลิตภัณฑ์ เป็นที่รู้จักและส่งเสริมช่องทางการจำหน่ายให้เหมาะกับตลาด สู่การเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 2 (มกราคม – มีนาคม 2562)

กิจกรรมหลักที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน กิจกรรม ย่อยพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP Product Champion : OPC) เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ (ดาว) ให้เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลทั่วไป จนสามารถใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้ และความเข้มแข็งให้กับชุมชน และเป็นระบบฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ ในการทำงานเชิงบูรณาการที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ระยะเวลาการดำเนินการ ดำเนินการในไตรมาส 1 - 3 (ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562)

ข้อสังเกต : ข้อมูลกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ในเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการต่างๆ ให้บันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เพื่อลดการซ้ำซ้อนของกลุ่มเป้าหมายฯ เข้าร่วมโครงการครั้งต่อไป