ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
LOGO Array. ประเภทของ Array - อาเรย์ 1 มิติ (One) - อาเรย์ 2 มิติ (Two) - อาเรย์ 3 มิติ (Three) 2.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับค่าโดยสารรถเมล์ ขสมก.
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อการบริหารงานของรัฐบาล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
Air Pollution สืบค้นจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ VTLS โดยใช้หัวเรื่องดังนี้ Air – Pollution Air – Analysis Air – Purification Air quality.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
D I G I T A L 4.0 Telling Time ENG M.1 Sem. 2 Vocabulary
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การออกแบบแผ่นพับใน การสอน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
เอกสารรายวิชา: : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
Goolgle SketchUp.
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
Multistage Cluster Sampling
ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
Physical Chemistry IV Molecular Simulations
มรสุม แนวปะทะอากาศ และพายุฝนฟ้าคะนอง
การอบรมการใช้ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
รายงานผลการวิจัย : ThaiView 26 กันยายน 2549.
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
การจัดกิจกรรมห้องสมุด
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
อาจารย์ประจำวิชาอภิธาน
David Ausubel การเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การมีส่วนร่วมของประชาชน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หลักการตลาด Principles of Marketing
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม 2546

วัตถุประสงค์ รวบรวมความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับ มาตรการการให้บริการเกมออนไลน์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น และการเข้ามามีบทบาทของรัฐ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะแนวทางต่าง ๆ ในการให้บริการเกมออนไลน์ เพื่อให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ ประกอบการวางแผน ตัดสินใจกำหนดแนวทาง การให้บริการเกมออนไลน์ต่อไป

ระเบียบวิธีการสำรวจ คุ้มรวม การเสนอผลการสำรวจ แผนการสุ่มตัวอย่าง ประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานคร การเสนอผลการสำรวจ เสนอผลสำรวจในรูปร้อยละ แผนการสุ่มตัวอย่าง Three-stage sampling มีจำนวนประชากรที่ตกเป็น ตัวอย่างทั้งสิ้น 1,080 ราย

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์ โดยเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน สถิติแห่งชาติไปทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือน ตัวอย่างที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ครัวเรือนละ 1 คน ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 19 - 23 กรกฎาคม 2546

การเล่นเกมออนไลน์ การเล่นเกมออนไลน์ ประเภทของเกมฯ ไม่เล่น เล่น 41.0 % เกมแร็คน่าร็อก % ไม่เล่น เล่น 18.1 41.0 % 59.0 % เกมออนไลน์ทั่วไป 40.9 %

จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยต่อวันที่ใช้ในการเล่นเกมฯ ชั่วโมง : วัน 4.7 5 4 3.6 3.3 3.1 วันธรรมดา (จันทร์ - ศุกร์) 3 2.6 2.2 วันหยุด (เสาร์ - อาทิตย์) 2 1 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก

การประสบปัญหาในการเล่นเกมออนไลน์ที่มีลักษณะ ติดพัน/หลอกลวง/ล่อแหลม/ยั่วยุทางเพศ และมีการพนัน ร้อยละ 100 88.0 86.7 83.6 80 60 ไม่มีปัญหา มีปัญหา 40 16.4 13.3 20 12.0 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก

ผลดี ผลเสีย โดยรวมจากการเล่นเกมออนไลน์ ประเภทแร็คน่าร็อก เอ็นเอจ แฟรี่แลนด์ ต่อตัวผู้เล่น ร้อยละ 40 100 20 60 80 26.5 22.6 35.1 49.2 ไม่แน่ใจ ผลดีผลเสียเท่า ๆ กัน 30.1 37.4 24.4 ผลเสียมากกว่าผลดี 13.1 ผลดีมากกว่าผลเสีย 21.5 37.1 34.1 36.6 18.5 ประเภทของเกมฯ 6.4 6.3 1.1 รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

ความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมแร็คน่าร็อก กับการส่งผลกระทบก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม ร้อยละ 100 80 31.7 29.2 38.6 49.7 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 60 14.0 13.3 32.3 ไม่เห็นด้วย 4.3 40 เห็นด้วย 54.3 20 48.1 46.0 38.5 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดระเบียบการเล่นเกมออนไลน์ของรัฐ ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดระเบียบการเล่นเกมออนไลน์ของรัฐ ร้อยละ 100 15.8 12.3 17.9 22.3 80 6.6 7.7 23.6 1.8 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 60 ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย 40 77.6 74.4 75.9 64.1 20 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

การจัดระเบียบฯ การปิดให้บริการเกมออนไลน์ระหว่างเวลา 22.00-06.00 น. การจัดระเบียบฯ การปิดให้บริการเกมออนไลน์ระหว่างเวลา 22.00-06.00 น. ร้อยละ 100 7.2 12.2 10.6 16.0 80 15.8 15.5 7.0 33.8 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 60 ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย 40 77.0 72.3 73.6 59.0 20 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

การจัดระเบียบฯ การกำหนดระยะเวลาการเล่นครั้งละไม่เกิน 2 ชั่วโมง การจัดระเบียบฯ การกำหนดระยะเวลาการเล่นครั้งละไม่เกิน 2 ชั่วโมง ร้อยละ 100 11.7 12.3 17.1 24.6 80 23.1 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 20.7 8.8 42.6 60 ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย 40 62.2 65.2 66.6 20 45.1 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

การจัดระเบียบฯ การเล่นเกมฯ ของรัฐเป็นการริดรอนสิทธิเสรีภาพของผู้เล่นฯ การจัดระเบียบฯ การเล่นเกมฯ ของรัฐเป็นการริดรอนสิทธิเสรีภาพของผู้เล่นฯ ร้อยละ 100 23.1 80 33.7 38.7 50.5 9.7 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 60 ไม่เป็น 25.3 21.7 เป็น 40 23.3 67.2 20 39.6 41.0 26.2 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

ผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาเกมออนไลน์ โดยการจัดระเบียบในการเล่นของรัฐ ผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาเกมออนไลน์ โดยการจัดระเบียบในการเล่นของรัฐ ร้อยละ 100 12.3 19.6 18.3 24.2 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 80 4.3 6.0 17.9 2.5 ไม่ได้ผล 13.1 13.1 10.8 ได้ผลน้อย 60 18.5 ได้ผลปานกลาง 40 ได้ผลมาก 38.2 43.9 37.2 27.7 20 23.1 23.6 25.3 20.4 ประเภทของเกมฯ รวม เกมออนไลน์ ทั่วไป เกมแร็คน่าร็อก ไม่เล่น

ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดอายุของผู้เล่น ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดอายุของผู้เล่น มาตรการสำหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 8.0 % ไม่ควร 18.1 % ควร 73.9 % 44.6 % ไม่ต่ำกว่า 18 ปี 18-25 ปี 29.0 % มาตรการสำหรับประชาชน 26-30 ปี 0.3 % ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 12.3 % ควร 47.0 % ไม่ควร 40.7 %

ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดช่วงเวลาปิดให้บริการเกมฯ ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดช่วงเวลาปิดให้บริการเกมฯ มาตรการสำหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 8.2 % ไม่ควร 13.3 % ควร 78.5 % 53.9 % 22.00-06.00 น. 23.00-06.00 น. 7.8 % 24.00-06.00 น. 9.6 % อื่น ๆ 7.2 % มาตรการสำหรับประชาชน ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 8.9 % 41.3 % 22.00-06.00 น. ไม่ควร 21.9 % 69.2 % ควร 23.00-06.00 น. 7.4 % 24.00-06.00 น. 15.2 % อื่น ๆ 5.3 %

ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดระยะเวลาการเล่นเกมฯ ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดระยะเวลาการเล่นเกมฯ มาตรการสำหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 8.6 % ไม่ควร 19.7 % ควร 71.7 % 47.5 % ไม่เกิน 2 ชั่วโมง ไม่เกิน 3 ชั่วโมง 15.6 % ไม่เกิน 4 ชั่วโมง 7.0 % 4 ชั่วโมงขึ้นไป 1.6 % มาตรการสำหรับประชาชน ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 9.4 % 36.0 % ไม่เกิน 2 ชั่วโมง ไม่ควร 34.0 % 56.6 % ควร ไม่เกิน 3 ชั่วโมง 11.0 % ไม่เกิน 4 ชั่วโมง 8.0 % 4 ชั่วโมงขึ้นไป 1.6 %

มาตรการสำหรับประชาชน ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทาง/มาตรการ การกำหนดระเบียบโดยการลงทะเบียนการเล่นเกมฯ มาตรการสำหรับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา มาตรการสำหรับประชาชน 14.8 % 15.3 % 64.6 % 62.1 % 20.6 % 22.6 % ควร ไม่ควร ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ

การกำหนดหลักเกณฑ์ การให้บริการร้านค้าอินเตอร์เน็ต/คอมพิวเตอร์ การกำหนดหลักเกณฑ์ การให้บริการร้านค้าอินเตอร์เน็ต/คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 100 8.6 16.3 6.9 80 ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 18.2 60 ไม่ควร ควร 40 84.5 65.5 20 หลักเกณฑ์ 1 2 1 การควบคุมตรวจสอบการให้บริการร้านค้า 2 การจัดระเบียบบริเวณ/สถานที่ตั้ง ของร้านค้า (โซนนิ่ง)

ช่วงเวลาที่ควรปิดให้บริการเกมออนไลน์ของร้านค้า ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 48.0 % ไม่ควร 8.7 % ควร 11.4 % 22.00-06.00 น. 79.9 % 23.00-06.00 น. 6.6 % 24.00-06.00 น. 18.2 % อื่น ๆ 7.1 %

ข้อเสนอแนะ ร้อยละ รวม ผู้แสดงความคิดเห็น ผู้ไม่แสดงความคิดเห็น 100.0 37.9 ควรมีกฎระเบียบข้อบังคับที่รัดกุม เช่น กำหนดอายุ สถานที่ตั้ง เนื้อหาของเกม ควรยกเลิกการเล่นเกมต่าง ๆ การเล่นเกมควรอยู่ในความดูแลของผู้ปกครอง ควบคุมเวลาการเล่นเกม/เลือกเกมที่สร้างสรรค์ ควรให้เล่นได้ไม่จำกัดเวลา/เด็กติดเกมดีกว่าติดยาเสพติด ยกย่องเยาวชนที่ประพฤติดีให้เป็นตัวอย่าง/ควรแยกแยะ กลุ่มที่เล่นให้ชัดเจน 27.5 6.7 5.7 2.7 1.8 1.4 ผู้ไม่แสดงความคิดเห็น 62.1 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ