กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
GDP GNP PPP.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.5

เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความหมาย ความสำคัญ ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบข่าย เป้าหมาย ของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

ความหมาย ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และสังคม ในการเลือกใช้วิธีการในการนำเอาทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดมาผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการ และหาทางที่จะจำแนกแจกจ่ายไปยังประชาชนในสังคม เพื่อให้มีการกินดีอยู่ดีและมีความเป็นธรรมทั้งในปัจจุบันและอนาคต

ช่วยในการตัดสินใจของประชาชน ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ช่วยในการตัดสินใจของประชาชน ช่วยให้สมาชิกในครอบครัวสามารถตัดสินใจบริหาร รายรับ–รายจ่าย และการออมได้ ช่วยให้สมาชิกในครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ช่วยให้ผู้ประกอบการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มกำไร และใช้ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

ช่วยสร้างความเข้าใจของประชาชนเกี่ยวกับนโยบายของรัฐ ประชานชนทั่วไปสามารถเข้าใจการดำเนินโยบายทางเศรษฐกิจด้านต่างๆ ของรัฐบาล ประชาชนให้ความร่วมมือเพื่อผลักดันให้นโยบายของรัฐประสบความสำเร็จ รัฐสามารถดำเนินโยบายทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีอันเนื่องมาจากการดำเนินนโยบาย ของรัฐประสบผลสำเร็จ

ช่วยสร้างองค์ความรู้ในการบริหารงาน ผู้บริหารระดับต่างๆ ทั้งระดับหน่วยธุรกิจ หรือระดับประเทศ สามารถใช้หลักเศรษฐศาสตร์ช่วยวิเคราะห์ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์และปัญหาทางเศรษฐกิจ ช่วยให้ผู้บริหารทั้งในภาครัฐและเอกชนสามารถตัดสินใจทางเศรษฐกิจได้อย่างมีเหตุผล ช่วยให้ภาคเอกชนบริหารรายรับและต้นทุนได้อย่างเหมาะสม

ช่วยสร้างผลประโยชน์ให้เกิดกับประเทศชาติ ช่วยรักษาผลประโยชน์ของชาติทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ ประเทศชาติมีรายได้เข้าประเทศอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย ประเทศสามารถนำงบประมาณและรายได้ไปใช้พัฒนาประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประชาชนมีงานทำ มีรายได้สูง และมีมาตรฐานค่าครองชีพสูงขึ้น

ขอบข่าย เป้าหมายของการศึกษา วิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบข่าย เป้าหมายของการศึกษา วิชาเศรษฐศาสตร์

ขอบข่ายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) มุ่งศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในส่วนย่อย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจทั้งระบบ ศึกษาเกี่ยวกับการบริโภค การเป็นเจ้าของทรัพย์สิน และพฤติกรรมขององค์กรหรือผู้ผลิต ศึกษาการจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ ศึกษาการกำหนดราคาสินค้าและบริการ ศึกษาการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค

เศรษฐศาสตร์มหภาค (macroeconomics) ศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจส่วนรวม ศึกษาเกี่ยวกับรายได้ – รายจ่ายประชาชาติ ศึกษาภาวการณ์จ้างงาน การออม การลงทุนการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ศึกษาปัญหาทางเศรษฐกิจในภาพกว้างกว่า เศรษฐกิจจุลภาคที่มีผลกระทบต่อหน่วย การผลิตและอุตสาหกรรมทั้งหมด ศึกษาถึงอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่อรายได้ ประชาชน ค้นหาเครื่องมือหรือแนวทางต่างๆทีช่วยรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ

เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริงหรือเศรษฐศาสตร์พรรณนา (positive or descriptive economics) มุ่งอธิบายเรื่องที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ เรื่องที่เป็นอยู่ และเรื่องที่จะเกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร รวมถึงอธิบายปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการเลือก การตัดสินใจ ของบุคคลหรือสังคม ตัวอย่าง การเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ มีสาเหตุมาจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจภายนอกประเทศ ทำให้ไม่สามารถส่งสินค้าไปยังต่างประเทศได้ตามเป้าหมาย จึงต้องลดการผลิตลง ลดการจ้างงาน ส่งผลให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย

เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็นหรือเศรษฐศาสตร์นโยบาย (normative or policy economics) อธิบายถึงสิ่งที่ควรจะมีหรือควรจะเป็นในระบบเศรษฐกิจ โดยอาจจะ เกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นตามที่คาดหมายไว้ก็ได้ ตัวอย่าง ประเทศไทยควรจะนำกฎหมายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างและภาษีมรดก มาใช้เพื่อทำให้รัฐมีรายได้เพิ่มขึ้น

เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสำคัญที่มุ่งเน้นให้ความรู้แก่ประชากรในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยกลุ่มบุคคลต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้บริโภค ผู้ประกอบการ และผู้บริหารองค์กรของรัฐ ล้วนเกี่ยวข้องกับวิชาเศรษฐศาสตร์ทั้งสิ้น ผู้บริโภค ช่วยทำให้ผู้บริโภครู้จักการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกัดในการบริโภคและใช้ในทางที่ดีที่สุด เพื่อก่อใหเกิดประโยชน์ในอนาคต รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ และสามารถปรับตัวได้ภายใต้ความผันผวนทางเศรษฐกิจ ผู้บริหารในองค์กรของรัฐ ช่วยให้ผู้บริหารในองค์กรของรัฐมีความรู้ความ เข้าใจในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการวางนโยบายเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รู้จักใช้นโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการสร้างโครงการต่างๆ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ เป้าหมาย ของ วิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้ประกอบการผลิต ช่วยทำให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถในการวางแผน การผลิต การพยากรณ์การผลิตเพื่อเสนอความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างถูกต้อง ในขณะเดียวกันก็มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ปัจจัยการผลิต เพื่อจะทำให้ต้นทุน การผลิตต่ำที่สุด และสามารถแข่งขันได้กับธุรกิจอื่นๆ

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ ในปัจจุบันประเทศต่างๆทั่วโลกมักประสบปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจคล้ายๆ กัน เนื่องจากความไม่พอดีกันระหว่างความต้องการของมนุษย์และสิ่งที่จะมาตอบสนองความต้องการ ซึ่งความต้องการของมนุษย์นั้นไม่มีที่สิ้นสุด แต่ในขณะเดียวกันทรัพยากรในโลกก็มีอยู่อย่างจำกัด จึงทำให้เกิดปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ขึ้น คือ จะผลิตสินค้าอะไร จะผลิตอย่างไร และจะผลิตเพื่อใคร What จะผลิตสินค้าอะไร เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัด ทำให้ไม่สามารถผลิตสินค้าและบริการได้ทุกชนิด เพื่อสนองความต้องการของสังคมได้หมด จึงต้องเลือกว่าจะผลิตสินค้าและบริการประเภทใดบ้าง จำนวนเท่าใด เช่น ถ้าเลือกผลิตข้าวมากก็จะสามารถผลิตข้าวโพดได้น้อย เนื่องจากที่ดินที่ใช้เพาะปลูกมีจำกัด For whom จะผลิตเพื่อใคร เมื่อมีการผลิตสินค้าและบริการได้มาแล้วใครจะเป็นผู้ใช้และจะจำแนกแจกจ่ายสินค้าไปให้กับผู้ใช้อย่างไร ปัญหาพื้นฐาน ทาง เศรษฐศาสตร์ How จะผลิตอย่างไร จะใช้วิธีการผลิตแบบใด ต้องใช้ปัจจัยการผลิตอะไรบ้าง จึงจะทำให้เสียต้นทุนการผลิตต่ำ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เช่น ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ต้องพิจารณาว่าจะผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ น้ำมัน หรือแก๊สธรรมชาติ หรือจากพลังงานนิวเคลียร์ และมีวิธีการผลิตอย่างไร

กิจกรรมทางด้านเศรษฐศาสตร์

การผลิต การผลิต หมายถึง การสร้างอรรถประโยชน์ของปัจจัยการผลิตต่างๆ ขึ้นมาใหม่ เพื่อก่อให้เกิดสินค้าและบริการต่างๆ รวมไปถึงการผลิตสินค้าขึ้นมาใหม่ การเก็บรักษาสินค้าเพื่อทำให้มีคุณภาพดีขึ้น การเคลื่อนย้ายสินค้าต่างๆไปสู่ผู้บริโภค รวมถึงการบริการต่างๆ โดยการดำเนินการผลิตนี้จะต้องอาศัยทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ที่ดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ แม่น้ำประเทศที่มีที่ดินและทรัพยากรอุดมสมบูรณ์จะได้ เปรียบเพราะสามารถนำมาใช้ในการผลิต ผลตอบแทนจากการใช้ที่ดิน คือ ค่าเช่า ผู้ประกอบการ เป็นผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตเพื่อทำการผลิตให้ได้ผลผลิตตามวัตถุประสงค์ เป็นผู้ยอมรับความเสี่ยงจากการผลิตและบริหารจัดการในองค์กรให้เจริญเติบโต ผลตอบแทนที่ได้รับ คือ กำไร ทรัพยากร การผลิต แรงงาน เป็นประชากรในวัยทำงาน เป็นผู้ใช้แรงงานและกำลังความคิด ในการผลิตสินค้าและบริการ ได้รับค่าตอบแทนเป็นค่าจ้าง ทุน เป็นสินค้าทุน เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์โรงงาน รถยนต์ ผลตอบแทนจากการใช้ทุน คือ ดอกเบี้ย

การบริโภค การบริโภค คือ การใช้ประโยชน์จากสิ่งของและบริการเพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น เมื่อหิวก็รับประทานอาหาร เมื่อปวดฟันก็ไปหาทันตแพทย์เพื่อรับการรักษา เป็นต้น ซึ่งโดยทั่วไปการบริโภคสินค้าของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกันอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ รายได้ของผู้บริโภค ราคาของสินค้าและบริการ ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือของผู้บริโภค ปริมาณสินค้าในตลาด การคาดคะเนราคาสินค้าและบริการในอนาคต ระบบการค้าและการชำระเงิน

การกระจายรายได้ การกระจายรายได้ คือ การกระจายรายได้ระหว่างเจ้าของปัจจัยการผลิตทุกประเภทอันได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ ซึ่งทำงานร่วมกันในการผลิตสินค้าและบริการ โดยเจ้าของปัจจัยการผลิตจะได้รับรายได้เป็นค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกำไร

การแลกเปลี่ยน ตัวอย่าง การแลกเปลี่ยน หมายถึง กระบวนการที่เกิดจากบุคคลทั้งสองฝ่ายมีความสมัครใจร่วมกันในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างกัน โดยมีบุคคลหนึ่งเป็นผู้ครอบครองทรัพย์สินและบริการ มีความเต็มใจมอบสิ่งของที่ตนครอบครองอยู่ให้บุคคลอื่นโดยมีสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เช่น เงิน สิ่งของ เป็นต้น ตัวอย่าง หน่อยต้องการซื้อเนื้อหมู 2 กิโลกรัม เมื่อไปถึงร้านขายหมู พ่อค้าขายหมูติดป้ายราคาขายเนื้อหมูกิโลกรัมละ 100 บาท ดังนั้น หน่อยต้องจ่ายเงิน 200 บาทให้พ่อค้าขายหมู เพื่อแลกกับเนื้อหมูจำนวน 2 กิโลกรัมตามที่หน่อยต้องการ ในกรณีนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นการแลกเปลี่ยนกัน โดยมีเงินเป็นสื่อกลาง

เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน

เศรษฐศาสตร์กับการดำเนินชีวิต เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของทุกคน ซึ่งเราสามารถนำวิชาเศรษฐศาสตร์มาปรับใช้เพื่อให้การดำเนินชีวิตได้หลายวิธี ใช้เศรษฐศาสตร์ในครัวเรือน เช่น การใช้น้ำ ใช้ไฟฟ้า อย่างประหยัด การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การซ่อมแซมเครื่องใช้ภายในบ้านแทนการซื้อใหม่ เป็นต้น ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการศึกษา เช่น จัดสรรเวลาในการทบทวนตำราเรียน การวางแผนทำการบ้าน การวิเคราะห์ผลที่ได้รับจากการเลือกเรียนสาขาวิชาต่างๆ เป็นต้น ใช้หลักเศรษฐศาสตร์เพื่อวางแผนค่าใช้จ่าย เช่น การจัดทำบัญชีครัวเรือน การเก็บออมเงิน การหารายได้เสริมเพื่อเพิ่มรายรับแก่ครอบครัว เป็นต้น ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการเลือกประกอบอาชีพ เช่น การพิจารณาว่าอาชีพใดที่สามารถสร้างรายได้ มีความมั่นคง และเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของตนเอง เป็นต้น ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการวางแผนชีวิตในอนาคต เช่น การออมเงินเพื่อสร้างครอบครัว สร้างที่อยู่อาศัย รวมไปถึงเงินเก็บเพื่อไว้ใช้จ่ายในยามเกษียณ เป็นต้น