องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ป่วยเป็นวัณโรค
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนที่ 14 อายุรกรรม. จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วย SEPSIS ( ร้อยละ )
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ระบบการรายงานข้อมูลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัด TB/HIV ในส่วนของคลินิกเอชไอวี สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การบันทึกเพื่อส่งออก 43 แฟ้ม ข้อมูลผู้พิการ (DISABILITY)
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส โครงการพัฒนาคุณภาพงาน การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรค/เอชไอวี ( TB/HIV) ชื่อผลงาน:รู้เร็ว รักษาเร็ว ลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/TB องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส

คำสำคัญ สถานการณ์จังหวัดนราธิวาส ยังมีปัญหาเกี่ยวกับอัตราการเสียชีวิตสูงที่สุด ระดับเขต๑๒ ทั้งในผู้ติดเชื้อ เอชไอวีที่มีประวัติเป็นวัณโรคร้อยละ๒๙.๒ และอัตราเสียชีวิตในระยะ๑๒ เดือนแรกหลังเริ่มยาต้านฯ ร้อยละ๑๖.๗ จากข้อมูลการให้บริการของโรงพยาบาลระแงะพบว่าปีงบประมาน๒๕๕๖มีผู้ติดเชื้อสะสม๒๒๖รายผู้เสียชีวิตสะสม๔๘ รายมีผู้รับยาต้านคงเหลือ ๑๖๖ ราย มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ ๑๐ รายติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์ ๘ ราย ติดเชื้อจากยาเสพติด ๒ รายติดจากคู่สมรส ๘ รายมารดาตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวี ๖ รายจะเห็นได้ว่าการติดเชื้อจะมาสู่แม่บ้านมากขึ้นทุกปี มีผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์มีTB ร่วมเสียชีวิต ๑ ราย จากการวัดผลคุณภาพการดูแลรักษาด้วยโปรแกรมHIVQUAL-ปี๕๖พบได้ผลตัวชี้วัดดังนี้ ผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับยาต้านได้รับการติดตามระดับC4ทุก๖เดือนร้อยละ๘๙.๓๖ ได้รับการเจาะไวรัสโหลดร้อยละ๙๕.๗๔ ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ๘๕.๑๙ ค่ามัธยฐานของระดับCD4ในผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เริ่มรับยาต้านไวรัสในปีที่ประเมินเท่ากับ ๑๖๕ cellค่ากลางระดับประเทศเท่ากับ๑๒๕ cell เป็นต้น ในปีงบประมาณ 2556ผู้ติดเชื้อที่ขึ้นทะเบียนรับยาต้านมีผลCD4ต่ำกว่า200cell /มีอาการของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส จำนวน ๘ ราย แสดงว่าผู้ติดเชื้อรายใหม่ ไม่ทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือติดเชื้อโดยไม่รู้ตัวและเข้ามารับบริการเจาะเลือด รับยาต้านเมื่อมีอาการแย่ลงหรือระยะแสดงอาการของติดเชื้อฉวยโอกาสและเข้าสู่ระยะโรคเอดส์ มีผู้มาเจาะหาเชื้อเอชไอวีโดยความสมัครใจVCT ยังน้อยมาก ทางคณะทำงานดูแลผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์โรงพยาบาลระแงะ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อค้นหาผู้ติดเอชไอวีรายใหม่ เข้าถึงการรักษา เร็วขึ้น ลดอัตราการเสียชีวิตในระยะ๑๒เดือนหลังรับยาต้านฯ  

3. บริบท/ภาพรวม/สภาพปัญหา บริบทของโรงพยาบาล เห็นความสำคัญของการพัฒนางานระบบการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี/TBเพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อฯให้เร็วขึ้นลดอัตราการเสียชีวิตปี2556พบอัตราการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและมีTB เสียชีวิต 1 รายจาก6 รายคิดอัตราเป็น ร้อยละ 16.66 ปัญหา: ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและมีติดเชื้อTBร่วมมีโอกาสเสียชีวิตสูงกว่าผู้ที่ไม่ติดเชื้อTB ปัญหาจาก 1.จากระบบบริการ 2. จากผู้ให้บริการ 3.จากผู้รับบริการ/ผู้ติดเชื้อ

สภาพปัญหา 1.จากระบบบริการ 1.1 เริ่มยาต้านช้า ระบบบริการปี2555 เริ่มยาต้านเมื่อรับยาTB ครบ2 เดือนจะstart arv 1.2 เจ้าหน้าที่คลินิกTB ไม่ทราบว่าผู้รับบริการเริ่มยาต้าน/ขาดระบบส่งต่อ 1.3ผู้ที่ติดเชื้อฯที่refer ขาดการติดตาม

2.จากผู้ให้บริการ 2.1 ขาดความตระหนักในการคัดกรองcase 2.2 ผู้ให้บริการน้อย ภาระงานมาก 2.3 ขาดการจดบันทึกข้อมูล 2.4ขาดการประสานงาน

สภาพปัญหา 3.จากผู้รับบริการ 3.1 มารพ. เมื่อมีอาการแย่ CD4 ต่ำ/มีติดเชื้อฉวยโอกาส/TB 3.2 อายไม่กล้ามารับยาต้าน 3.3 ขาดความตระหนักในการป้องกันตัวจากเอชไอวี/TB 3.4 ผู้ดูแลไม่ทราบผลเลือด 3.4 ไม่มีพาหนะ/มาโรงพยาบาลไม่ได้

4. ภาพรวม เป้าหมาย: 1.พัฒนาระบบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ติดเชื้อTBให้ได้รับยาต้านเร็วขึ้นเพื่อลดอัตราการเสียชิวิต แนวทางการพัฒนา 1.ชี้แจงคณะทำงานทุกฝ่ายสหสาขาวิชาชีพ ทุกแผนกบริการถึงแนวทางการพัฒนางาน 2. แจ้งระบบบริการลงไปยังชุมชน เครือข่ายผู้ติดเชื้อ รพสต.เพื่อรับทราบ พัฒนาระบบดังนี้ 1.พัฒนาระบบในโรงพยาบาล 1.1ให้คัดกรองเจาะ anti- HIV ทุกรายในคลินิก รักษาTB 1.2 แผนกผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยในถ้าพบผู้รับบริการทีมีอาการไอมาเกิน2 อาทิตย์/คัดกรอง5 คำถามพบว่าเสี่ยงให้พยาบาลส่งCXR และส่ง sputum AFB ได้เลยโดยไม่ต้องรอแพทย์สั่ง และส่งพบแพทย์เพื่อรักษาต่อ

การพัฒนาระบบต่อ 1.3 แผนกให้คำปรึกษา ถ้าพบผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ให้คัดกรองTB ทุกราย 1.4 แผนกยาต้านarv ให้คัดกรองTB ทุกครั้งที่มารับบริการ เพื่อค้นหา TB ให้เร็ว 1.5 ทำแบบบันทึกใหม่/ส่งต่อแผนกARV และ แผนกTB เพื่อป้องกันการหลุดการส่งต่อการรับยาต้าน 1.6 ทำงานร่วมกับงานโรคติดต่อทางเพสสัมพันธ์ออกคัดกรองanti-HIV ตามแหล่งแพร่/สถานบริการในวันที่ออกสำรวจและบอกผลทันที 1.7 ร่วมกับแผนกบำบัดยาเสพติดให้เจาะเลือดหาAnti-hiv ทุก 6เดือนเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงได้เร็วขึ้น

เป้าหมาย 2.คัดกรองผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ในชุมชนเข้าสู่ระบบริการยาต้านให้เร็วก่อนมีการติดเชื้อฉวยโอกาส/TB แนวทางการพัฒนา 2.1 จัดทำโครงการลงสู่ชุมชนโดยการทำVCCT ร่วมกับแกนนำ 2.2 จัดอบรมเจ้าหน้าที่รพ.สต./ อปต. ถึงปัญหาของผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์เข้าสู่ระบบการรักษาที่ล่าช้า 2.3 ให้เจ้าหน้าที่รพ.สต. ให้คำปรึกษาเจาะanti-HIV เองและส่งต่อมารพ.คัดกรองTBในรายที่สงสัย

5.สาระสำคัญของการพัฒนา(Improvement Highlight)

6. ผลลัพธ์ จากการพัฒนาระบบตาราง ข้อมูล ปี2554 ปี2555 ปี2556 2.6เดือน ผู้ติดชื้อHIV/TBรับยาต้านหลังทราบผลเลือด 2.6เดือน 2.7เดือน 2เดือน ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/Tbรายใหม่เสียชีวิตร้อยละ 25(1:4) 40(2:5 ) 16(1:6) ผู้มารับบริการขอเจาะเลือดanti-hiv ด้วยตนเองร้อยละ 20(20: 138 ) 21(27:128 ) 28(31: 109 )

สิ่งที่เกิดขึ้นหลังพัฒนางาน 1. มีการพัฒนามีระบบส่งต่อผู้ติดเชื้อฯระหว่างแผนกที่เร็วขึ้น 2. มีการ์ดส่งต่อ/ใบนัดระหว่างแผนกบริการป้องกันการหลุด/หายของผู้ป่วย 3.มีผู้มาขอเจาะเลือดด้วยตนเองเพิ่มขึ้น 4.มีผู้เสียชีวิตจากHIV/TBลดลง

7.บทเรียนเพื่อการแบ่งปัน 1 .การพัฒนาการงานต้องอาศัยความร่วมมือหลายหน่วยงานถึงจะประสบผลสำเร็จ 2. ต้องมีความอดทน มุมานะ 3.การให้ความรู้ในชุมชน ในกลุ่มเสี่ยง มีความสำคัญ 4.การทำงานร่วมกับกลุ่มผู้ติดเชื้อ ช่วยตามผู้มารับบริการ จะประสบผลสำเร็จได้เร็วขึ้น

8. สิ่งที่อยากฝากไว้ให้คนอื่นรู้  1.การเอาข้อมูลมาวิเคราะห์ปัญหา จะเกิดการพัฒนางาน 2. ต้องทำงานร่วมกันหลายแผนก 3. ถ้าเรามีการพัฒนางานแล้วตัวชี้วัดบางตัวไม่ถึงเกณฑ์อย่าท้อเพราะบางตัวเราไม่สามารถควบคุมได้