การประชุมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2560
ที่ควรเกิดขึ้นหลังการฝึกอบรม สมรรถนะ (Competency) เป้าหมาย ที่ควรเกิดขึ้นหลังการฝึกอบรม เครือข่ายการทำงาน (Network)
สมรรถนะที่พึงประสงค์สำหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงเป็นกลุ่มข้าราชการผู้มีศักยภาพ มีคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรม อีกนัยหนึ่งคือเป็น ‘ คนที่ใช่ ’ สำหรับองค์กร ‘ คนที่ช่วย ’ ขับเคลื่อนภารกิจสำคัญขององค์กร และ ‘ คนที่ชอบ ’ ผลักดันงานท้าทายให้เกิดผลสำเร็จ High Performance and Potential System : HiPPS คนที่ใช่ คนที่ชอบ คนที่ช่วย ของส่วนราชการ งานท้าทาย ผลักดันความสำเร็จ
สมรรถนะของบุคลากรการศึกษา ยุคศตวรรษที่ ๒๑ 2.การจัดการ ความเสี่ยง (Risk Management) 3.ความอ่อนน้อม ถ่อมตน (Respect for others) 4.ความใส่ใจต่อ บุคคลและสมาชิก (Personals Centric) 1.ความมุ่งมั่นในงาน (Achievement) 5.ความคิดริเริ่ม สิ่งใหม่อย่าง สร้างสรรค์ (Initiative to Creative) 7.ความใฝ่ใจ เรียนรู้ Eager to Learn) 8.มุ่งมั่นเพื่อ ความสำเร็จ (Commitment to Success) 9.ความมีจิตสำนึก ของการทำงาน เป็นทีม (Team Spirit) 6.ความเอาใจใส่ คุณภาพ (Quality Awareness) ๑๐.ความยืดหยุ่น ปรับตัว (Adaptability) สมรรถนะของบุคลากรการศึกษา ยุคศตวรรษที่ ๒๑ ที่พึงมีและพึงปฏิบัติเป็นพื้นฐาน (Competency – Base) ยุทธศาสตร์ที่มุ่งพัฒนา บุคลากรให้มีคุณภาพ ที่มา : สรุปจากคู่มือการปฏิบัติงานการบริหารงานบุคคลสู่การขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค สพฐ.
ระบบราชการ 4.0 “ ยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ” ระบบราชการ 4.0 “ ยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ” ยกระดับการทำงานไปสู่การร่วมมือกันอย่างแท้จริง มีการวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการ ระดมและนำเอาทรัพยากรมาแบ่งปันและใช้ประโยชน์ร่วมกัน ยอมรับความเสี่ยงและรับผิดชอบต่อผลสำเร็จที่เกิดขึ้นเป็นการบริหารกิจการบ้านเมืองในรูปแบบ “ประชารัฐ” เปิดเผยโปร่งใสในการทำงาน สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารตรวจสอบการทำงานได้ เปิดกว้างให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม มีการถ่ายโอนภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรทำเอง และมีการเชื่อมโยงในการทำงานภาครัฐให้เป็นเอกภาพ ประสานกันในทุกระดับ เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน ทำงานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน ใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐและระบบดิจิทัลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความต้องการ อำนวยความสะดวก มีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้บริการได้เสร็จสิ้นในจุดเดียว สามารถเรียกใช้บริการได้ตลอดเวลา คิดค้นและแสวงหาวิธีการใหม่ ๆ ทำให้เกิดbig impact เพื่อปรับปรุงและออกแบบการให้บริการสาธารณะและนโยบายสาธารณะให้สามารถตอบโจทย์ความท้าทายของประเทศ หรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ สานพลัง ทุกภาคส่วน สร้าง นวัตกรรม ระบบราชการต้องเป็นที่พึ่งของประชาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้ ยึดประชาชนเป็น ศูนย์กลาง มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย ทำงานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า วิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชา เป็นองค์การที่มี่สมรรถนะสูง ปรับตัวเข้าสู่สภาพสำนักงานสมัยใหม่ ทำให้ข้าราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัติราชการและปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเหมาะสมกับบทบาทของตน เป็นการผสมผสานกันของการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ อุปกรณ์ประเภทสมาร์ทโฟนและเครื่องมือเพื่อการใช้งานร่วมกัน ให้สามารถติดต่อกันได้อย่างเรียลไทม์ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลอันสลับซับซ้อนต่าง ๆได้ และช่วยให้บริการของทางราชการสามารถตอบสนองความคาดหวังของประชาชนที่ต้องการให้อย่างมีคุณภาพ ปรับสู่ ความเป็นดิจิทัล ที่มา : สรุปสาระสำคัญจาก www.opdc.go.th
นักเรียน ครูและผู้บริหาร ร่วมมือกันเดิน สู่การศึกษา 4.0 (Towards Education 4.0) การศึกษารูปแบบ 4.0 (Education 4.0) การศึกษารูปแบบ 3.0 (Education 3.0) ผู้เรียนสามารถสร้างนวัตกรรมได้ (Knowledge Producting) การศึกษารูปแบบ 2.0 (Education 2.0) ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ (Knowledge Producting) การศึกษารูปแบบ 1.0 (Education 1.0) ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ผ่านสื่อออนไลน์ได้ (E-learning) ผู้สอนเป็นผู้ป้อนความรู้ (Dictation of Knowledge) ที่มา : ดัดแปลงจากภาพประกอบบทความของ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 4 ยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. การเพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.การพัฒนาคุณภาพ ครูและบุคลากร ทางการศึกษา 4.การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาในสังกัด
6 จุดเน้นการดำเนินงานของสพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1.ด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ 4. ด้านการทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 2.ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา 5. ด้าน ICT เพื่อการศึกษา 3.ด้านพัฒนากำลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ 6. ด้านการบริหารจัดการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาในสังกัด
การบริหารองค์กรที่ดี วัตถุประสงค์หลัก คือ การติดตาม กำกับ ควบคุมและดูแล ให้มีการจัดกระบวนการเพื่อใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ตรงเป้าหมาย คุ้มค่าและประหยัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รากฐานที่จะช่วยให้มีการกำกับ ดูแลองค์กร ที่ดีประกอบด้วย * การควบคุมภายใน * การบริหารความเสี่ยง * การตรวจสอบภายใน
ความเสี่ยงไม่มีวันหมด “ สิ่งหนึ่งที่เราต้องยอมรับก็คือ ไม่มีองค์กรหรือบุคคลใดที่จะดำเนินงานอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ปราศจากความเสี่ยง ทุกคนหรือทุกองค์กรจะดำรงอยู่ภายใต้ความเสี่ยงทั้งนั้น”
การบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน โอกาส ภาวะคุกคาม การบริหารความเสี่ยง สพป. / สพม. / โรงเรียน จุดแข็ง จุดอ่อน การควบคุมภายใน ( สมมาต, 2554 )
ความเสี่ยงตามแนวทางของ COSO 4 วัตถุประสงค์ กรอบงานการบริหาร ความเสี่ยงตามแนวทางของ COSO 1 ด้านกลยุทธ์ (Strategic) เป้าหมาย ระดับสูงต้องสอดคล้องและสนับสนุน พันธกิจขององค์กร 2 ด้านการปฏิบัติการ (Operation) การใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ 8 องค์ประกอบ 3 ด้านการรายงาน (Reporting) การรายงาน มีความน่าเชื่อถือ 1. สภาพแวดล้อมภายในองค์กร 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ 4 ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance)การปฏิบัติให้ถูกต้องตาม กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3. การบ่งชี้เหตุการณ์ 4. การประเมินความเสี่ยง 5. การตอบสนองความเสี่ยง หน่วยงานขององค์กรแบ่งเป็น 4 ระดับ 6. กิจกรรมเพื่อการควบคุม 7. สารสนเทศและการสื่อสาร 1. ระดับทั่วทั้งองค์กร (Entity-level : EL) 8. การติดตามและประเมินผล 2. ระดับส่วนงาน (Division : D) 3. ระดับหน่วยงาน (Business units : BU) 4.ระดับหน่วยงายย่อย (Subsidiary : S) ที่มา : สรุปสาระ จาก COSO 2013
กรอบงานการควบคุมภายใน ตามแนวทางของ COSO วัตถุประสงค์ 1.ด้านความมีประประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของการดำเนินงาน 2.ด้านความเชื่อถือได้ของข้อมูลและรายงาน ทางการเงิน 3.ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ 5 องค์ประกอบ 1.สภาพแวดล้อมการควบคุมภายใน หน่วยงาน 2.การประเมินความเสี่ยง 3.กิจกรรมการควบคุม 4.สารสนเทศและการสื่อสาร 5.การติดตามและประเมินผล ที่มา : สรุปสาระจาก COSO 2013
ทำไม ? สพท.และสถานศึกษา ต้องมีระบบควบคุมภายใน ต้องรายงานการประเมินผล การควบคุมภายในทุกปี
มาตรฐานการควบคุมภายใน ระเบียบ คตง.ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
สาระสำคัญ ระเบียบคตง. พ.ศ.2544 บังคับใช้กับทุกส่วนราชการมาตั้งแต่ ปี 2544 ระเบียบ มี 9 ข้อ (ข้อ 4 /ข้อ 5 และ ข้อ 6 มีความสำคัญ ) ข้อ 4 เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร ที่ต้องนำมาตรฐานการควบคุมภายใน มาวางระบบให้มีประสิทธิภาพ สาระสำคัญ ระเบียบคตง. พ.ศ.2544 ข้อ 5 ใช้มาตรฐานในการวางระบบควบคุม ภายในให้เสร็จภายใน 1 ปี ข้อ 6 มีหน้าที่รายงานระบบการควบคุมภายใน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายใน 90 วัน นับ แต่สิ้นปี งปม. / ปีปฏิทิน
วัตถุประสงค์การควบคุมภายใน 1. ให้เกิดประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน วัตถุประสงค์การควบคุมภายใน 2. ให้เกิดความเชื่อถือได้ของ การรายงานทางการเงิน 3.ให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
ความสำคัญของการควบคุมภายใน เป็นเครื่องมือช่วยผู้บริหาร ในการกำกับดูแลและบริหารงาน ช่วยลดความเสี่ยงในระดับที่ยอมรับได้ เป็นดัชนีของการบริหารงานที่มีมาตรฐาน ความสำคัญของการควบคุมภายใน เป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงาน การดำเนินการ บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมี ประสิทธิภาพ
แนวคิดการควบคุมภายใน ของสพท./สถานศึกษา แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานประจำ และงานขับเคลื่อนกลยุทธ์ของทุกกลุ่มงาน บุคลากรทุกคนในสพท./สถานศึกษามีบทบาทอำนาจ หน้าที่ทำให้ระบบควบคุมภายในเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล เป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษา ว่าผลการทำงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายตามมาตรฐาน
การควบคุมภายใน ( Internal Control ) คำสำคัญ : KEY WORDS การควบคุมภายใน ( Internal Control ) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหน่วยรับตรวจ จัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงาน
คำสำคัญ : KEY WORDS หน่วยรับตรวจ : สพฐ./ สพป./ สพม./สถานศึกษา ส่วนงานย่อย : สำนักใน สพฐ. / กลุ่มงานใน สพป. และสพม./กลุ่ม,ฝ่าย ในสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยรับตรวจ : เลขากพฐ./ ผอ.สพป./ผอ. สพม./ ผอ.สถานศึกษา หัวหน้าส่วนงานย่อย : ผอ.สำนักในสพฐ./ ผอ.กลุ่มงาน ในสพป.และสพม./ หน.กลุ่ม หรือฝ่ายในสถานศึกษา
คำสำคัญ : KEY WORDS ความเสี่ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด มาตรฐาน : ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม
...เมื่อไรควรทำแผนการปรับปรุงควบคุมภายใน... ติดตามและประเมินกิจกรรมการควบคุมภายในอย่างเป็นระบบ พบข้อบกพร่อง มีความเพียงพอ พบจุดอ่อน ยอมรับได้ เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ ภารงาน/กิจกรรมโครงการของหน่วยงาน พบปัญหา มีประสิทธิภาพ พบความเสี่ยง มีประสิทธิผล ไม่บรรลุผล บรรลุผล จัดทำแผนการปรับปรุง และติดตามผลการควบคุมภายใน ยังมีกิจกรรมการควบคุมแต่ไม่ต้องจัดทำแผน ฯ และรายงาน ที่มา : สมมาต , 2560
สรุปความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน ประเด็น การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน วัตถุประสงค์ 1 เชิงยุทธศาสตร์ 2. การดำเนินงาน 3. การเงิน 4. การปฏิบัติตามข้อกำหนด 1. การดำเนินงาน 2. การเงิน 3. การปฏิบัติตามกำหนด องค์ประกอบ 1. สภาพแวดล้อมภายใน 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ 3. การบ่งชี้เหตุการณ์ 4. การประเมินความเสี่ยง 5. การตอบสนองความเสี่ยง 6. กิจกรรมการควบคุม 7. สารสนเทศและการสื่อสาร 8. การติดตามและประเมินผล 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามและประเมินผล ขอบเขต ความเสี่ยงทั้งหมดที่มีผลกระทบต่อองค์กร ความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบัติงาน ลักษณะงาน เน้นการประเมินความเสี่ยง เน้นการควบคุมภายใน การจัดการ ทำความเข้าใจและจัดการความเสี่ยงจากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อองค์กร โดยอาจจัดทำเป็นแผนแยกต่างหากจากการดำเนินงานปกติหรือจะเป็นส่วนหนึ่ง ของการดำเนินงานปกติก็ได้ ทำความเข้าใจและจัดการ กระบวนการควบคุมภายใน โดยเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานปกติ
กระบวนการบริหารความเสี่ยงกับการควบคุมภายใน ระบบการควบคุมภายใน กระบวนการบริหาร ความเสี่ยง 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ 2. การระบุความเสี่ยง/เหตุการณ์ 3. การประเมินความเสี่ยง 4. การตอบสนองและจัดทำแผนฯ 5. การรายงานและติดตามผล องค์ประกอบของการ ควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล กำหนดกฎ ระเบียบ มาตรการ/ กระบวนการ/คู่มือ/วิธีการ ปฏิบัติงาน
ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 1. การได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง 5. การสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ 6. การวัดผลการบริหารความเสี่ยงและความสำเร็จของการบริหารความเสี่ยง 2. การใช้คำที่ทำให้เข้าใจแบบเดียวกัน ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 7. การฝึกอบรมและกลไก ด้านทรัพยากรบุคคลเพื่อให้ บุคลากรทุกคนเข้าใจในกรอบและความรับผิดชอบ 3. ปฏิบัติตามกระบวนการ บริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายใน อย่างต่อเนื่อง 4. การมีกระบวนการ ในการบริหารการ เปลี่ยนแปลง 8. การติดตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในด้วยการกำหนดวิธีที่เหมาะสม
บทสรุป การบริหาร ความเสี่ยง การควบคุมภายใน การใช้งบประมาณมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การบริหาร ความเสี่ยง ภารกิจของรัฐเกิดสัมฤทธิผลแก่ผู้ใช้บริการ เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารงานที่จะส่งผลต่อองค์กร องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ของภารกิจนั้น ๆ การควบคุมภายใน นำกลยุทธ์องค์กรไปดำเนินการในภาคปฏิบัติให้ประสบความสำเร็จ
คุณภาพ ผู้เรียน ดี เก่ง มีความ สุข ความเสี่ยง : ผลไม่เป็นตามมาตรฐาน มาตรฐานการศึกษาของชาติ ความเสี่ยง : ผลไม่เป็นตามมาตรฐาน เป้าหมายปลายทาง มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย ดี มาตรฐานการศึกษาของ สพท. คุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เก่ง มาตรฐานการแนะแนว มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีความ สุข มาตรฐาน SBM มาตรฐานการควบคุมภายใน ฯ ล ฯ (สมมาต , 2558)