ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความร่วมมือระหว่างประเทศ ACMECS และ MBDS
Advertisements

กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๕ ( เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท ) ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ดร. กัมพล ไชยนันท์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
ขั้นตอนการร้องเรียน.
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ภารกิจในการจัดการด้านความมั่นคงชายแดน ส่วนกิจการชายแดนและผู้อพยพ
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
เข้าสู่วาระการประชุม
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
ด่านศุลกากรจันทบุรี.
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผู้สอนวิชากฎหมายธุรกิจและภาษีอากร(bus226)
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การประชุมกลุ่ม เรื่องการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว กรอบการพิจารณา กรอบความร่วมมือ การดำเนินงาน ประเด็นปัญหาที่พบ แนวทางการพัฒนา

ผลการประชุมกลุ่มสาธารณสุข ไทย-ลาว งานสาธารณสุขชายแดน (ทุกจังหวัด ) อาเซียน (ทุกจังหวัด ) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (หนองคาย นครพนม มุกดาหาร )

สุขภาพดีที่ชายแดน 3-3-2-1 มุกดาหาร / สะหวันนะเขต มุกดาหาร/สะหวันนะเขต กรอบการดำเนินงาน สุขภาพดีที่ชายแดน 3-3-2-1 3 กรอบความร่วมมือ MBDS IHR 2005 ASEAN& SEZ 1 ประเทศ 1 จังหวัด 3 ประเทศ 2 แขวง 1 จังหวัด 2 ประเทศ 1 แขวง 1 จังหวัด ไทย / ลาว ไทย / ลาว /เวียดนาม ไทย มุกดาหาร / สะหวันนะเขต / กวางตรี มุกดาหาร/สะหวันนะเขต มุกดาหาร

มุกดาหาร – สะหวันนะเขต – กวางตรี มุกดาหาร-สะหวันนะเขต 3 กรอบความร่วมมือ MBDS IHR 2005 ASEAN& SEZ มุกดาหาร – สะหวันนะเขต – กวางตรี มุกดาหาร มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ศูนย์ ศคอส ศูนย์ OSS CCA 3 สมรรถนะ 12 เป้าหมาย 7 ยุทธศาสตร์ 7 ยุทธศาสตร์ 3สมรรถนะ 6 เป้าหมาย มุกดาหาร

โครงสร้างการดำเนินงาน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ /เมืองบริการสุขภาพอาเซียน /ชายแดน จ.มุกดาหาร นพ.สสจ.มห. ผชช.ว. /ผชช.ส งานควบคุมโรค ศูนย์ ศคอส. งานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ / พัฒนาบุคลากรฯ ควบคุมโรค / IHR ส่งเสริมสุขภาพ ระบบบริการ ส่งต่อ ประกันสุขภาพ แรงงานต่างด้าว อาหาร/ยา คุ้มครองผู้บริโภค (งบลงทุน) สิ่งแวดล้อม งานควบคุมโรค งานส่งเสริมสุขภาพ ด่านควบคุมโรค รพท. รพช. รพ.สต. ประกันสุขภาพ งานคบส. ด่านอาหารและยา งานโภชนาการสิ่งแวดล้อม งานอาชีวเวชกรรม

แผนที่ยุทธศาสตร์พัฒนางานสาธารณสุขชายแดนจังหวัดมุกดาหาร ปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ วิสัยทัศน์ “เป็นจังหวัดชั้นนำในการจัดระบบสุขภาพชายแดนโดยทีมงานที่มีคุณภาพและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ S1 พัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และIHRให้มีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ S2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพระบบส่งต่อและประกันสุขภาพในแรงงานต่างในพื้นที่ชายแดนด้าว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ S3 พัฒนาระบบคุ้มครองคุณภาพปลอดภัยทางด้านอาหารและยา เครื่องสำอาง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ S4 พัฒนาระบบบริการจัดการด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมสุขภาพ ประสิทธิผล G1 ประชาชนในพื้นที่ชายแดนมีสุขภาวะ G2 ประชาชนในพื้นที่ชายแดนพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้ G3 หน่วยงานสาธารณสุขตามแนวชายแดนได้รับการรับรองตามมาตรฐานคุณภาพ G4 ประชาชนในพื้นที่ชายแดนมีความพึงพอใจ คุณภาพบริการ G5 ด่านควบคุมโรคฯผ่านการประเมินตามมาตรฐานสมรรถนะด่านฯ G7 ระบบเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และการดำเนินการตามเป้าหมายIHR ในพื้นที่ชายแดนมีประสิทธิภาพทั้งในและระหว่างประเทศ G6 ระบบบริการสุขภาพ ระบบส่งต่อและประกันสุขภาพในแรงงานต่างในพื้นที่ชายแดนด้าว มีประสิทธิภาพ G8 ระบบคุ้มครองคุณภาพปลอดภัยทางด้านอาหารและยา เครื่องสำอางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ G9 ระบบบริการจัดการด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมสุขภาพมีประสิทธิภาพ G10 การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ G11 ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีความเข้มเข็ง G13 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานและเชื่อมโยงระหว่างประเทศ G12 มีบุคลากรสาธารณสุขชายแดนเพียงพอและมีสมรรถนะ G14 สถานบริการสาธารณสุขชายแดนมีอุปกรณ์ เครื่องมือ ที่เพียงพอและพร้อมใช้ พัฒนาองค์กร G15 มีการเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC) G16 มีการสนับสนุนช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพร่วมกันระหว่างประเทศ

วิสัยทัศน์ (Vision) การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดนจังหวัดมุกดาหาร ปี 2559-2563 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานและเชื่อมโยงระหว่างประเทศ พันธกิจ (Mission) พัฒนางานระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และตามเป้าหมายIHR ทั้งในจังหวัดและระหว่างประเทศ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระบบส่งต่อระหว่างประเทศและระบบประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าว พัฒนาระบบคุ้มครองคุณภาพปลอดภัยทางด้านอาหารและยา เครื่องสำอาง พัฒนาระบบบริการจัดการด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมสุขภาพ ระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและตามเป้าหมายIHR ให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ระบบบริการสุขภาพ ระบบส่งต่อ และประกันสุขภาพ ระหว่างประเทศให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ระบบคุ้มครองคุณภาพปลอดภัยทางด้านอาหารและยา เครื่องสำอาง ระบบบริการจัดการด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมสุขภาพ เป้าประสงค์หลัก (Goal) พัฒนางานระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและตามเป้าหมายIHR ทั้งในจังหวัดและระหว่างประเทศให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริการสุขภาพระบบส่งต่อระหว่างประเทศและระบบประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าวให้มีคุณภาพและมาตรฐาน พัฒนาระบบคุ้มครองคุณภาพปลอดภัยทางด้านอาหารและยา เครื่องสำอางให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริการจัดการด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะและเป็นทีมงานสุขภาพที่มีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic issue)

การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดนไทย - ลาว วิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่ผ่านมา ระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค IHR ระบบบริการสุขภาพระบบส่งต่อระหว่างประเทศและระบบประกันสุขภาพของแรงงานต่างด้าว พัฒนาระบบคุ้มครองคุณภาพปลอดภัยทางด้านอาหารและยา เครื่องสำอาง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสุขภาพ การบริหารจัดการ

ประเด็นปัญหา ระบบเฝ้าระวัง IHR มีการดำเนินงานเฝ้าระวังระหว่างประเทศ ไทยผ่านการประเมิน แต่ในสปป.ลาวยังไม่ได้มีการประเมิน แรงงานต่างด้าวที่มาจากพื้นที่ระบาดของโรค ไม่ทราบแหล่งที่อยู่ที่ชัดเจน แรงงานเคลื่อนย้ายบ่อย ไม่มีการขึ้นทะเบียน แรงงานต่างด้าวยังขาดระบบคัดกรอง บุคลากรประจำด่านมีน้อย บุคลากรขาดทักษะการสื่อสารในการสอบสวน คัดกรอง ควบคุมโรค อสต.มีน้อย

ประเด็นปัญหา ระบบเฝ้าระวัง IHR (ต่อ) ขาดการแลกเปลี่ยนข้อมูลในการเฝ้าระวังโรคระหว่างกัน ระบบการเฝ้าระวังตามแนวชายแดนยังขาดประสิทธิภาพ ไม่มีการพัฒนาทีมSRRT สปป.ลาว ไม่มีระบบการรายงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ยังไม่ผ่านการประเมินมาตรฐานIHR

ประเด็นปัญหา Referral System มีระบบการส่งต่อ แต่ไม่ได้มีการดำเนินงานจริงตามขั้นตอนที่กำหนด ผู้ป่วยสปป.ลาวไม่มาตามระบบ ไม่มีการส่งกลับข้อมูลและไม่มีการนำข้อมูลมาแชร์และใช้ประโยชน์ร่วมกัน รพ.เอกชนไม่มีการส่งกลับข้อมูล

ประเด็นปัญหา ระบบบริการ จำนวนผู้ป่วยต่างชาติเพิ่มมากขึ้น เป็นภาระการให้บริการ/ค่าใช้จ่าย ภาระงานมากขึ้น การประสานงานการส่งต่อยังไม่ชัดเจน แรงงานขึ้นทะเบียนน้อย เป็นแรงงานแอบแฝง สถานบริการสาธารณสุขชายแดนยังขาดความพร้อมฯ บุคลากร สาธารณสุขขาดทักษะ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

ประเด็นปัญหา การบริหารจัดการ มีผู้รับผิดชอบหลายฝ่าย ควรมี Focal Point ในการประสานหลัก เป็นงานฝาก การประสานหนังสือระบบราชการควรมีการประสานทั้งในระดับกระทรวงและระดับพื้นที่ งบประมาณมีข้อจำกัด ใช้ในต่างประเทศไม่ได้ ไม่ชัดเจน ระบบข้อมูลต่างด้าวยังไม่มีประสิทธิภาพ ทัศนคติของบุคลากรต่อประชากรต่างด้าวยังมองเป็นภาระ ขาดการนำเสนอ best practice ระดับประเทศ

แนวทางการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดนไทย-ลาว สู่อาเซียน ปี 2559 มีบุคลากรสาธารณสุขชายแดนเพียงพอและมีสมรรถนะ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานและเชื่อมโยงระหว่างประเทศ สถานบริการสาธารณสุขชายแดนมีอุปกรณ์ เครื่องมือ ที่เพียงพอและพร้อมใช้ มีการเตรียมความพร้อมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC) มีการสนับสนุนช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาพร่วมกันระหว่างประเทศ

แผนการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดนไทย - ลาว พัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้านการทูตความร่วมมือระหว่างประเทศ การพัฒนาทักษะการนำเสนอผลงานด้วยภาษาอังกฤษ อบรมอสต.บัดดี้ เมืองคู่ขนาน - ศึกษาดูงาน พัฒนาทักษะ ร่วมกัน One Health & IHR ประชุมทำแผนยุทธศาสตร์ชายแดนไทย-ลาว ไทย-กัมพูชากับทุกภาคส่วน ถอดบทเรียนผลสำเร็จการดำเนินงานที่ผ่านมา งานวิจัยเชิงสุขภาพการเคลื่อนย้ายประชากรข้ามชาติ มีFocal point ระบบส่งต่อ / ระบบประเมินระบบส่งต่อ ปรับทัศนคติ จนท.ผู้ปฏิบัติงาน กำหนดโครงสร้างให้ชัดเจน แสวงหาแหล่งทุน พัฒนาระบบฐานข้อมูล / Website

แผนการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดนไทย - ลาว ประชุมประสานความร่วมมือไทย-ลาว ไทย-กัมพูชากับทุกภาคส่วน ในประเด็นASEAN Border Health, HIV/AIDS/TB คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง(กลุ่มแรงงาน)ทุกคนที่เข้าสู่ระบบรักษา ศูนย์ประสานงาน / ฐานข้อมูล / พัฒนาระบบIT เขตเศรษฐกิจพิเศษ เตรียมความพร้อมสถานบริการสาธารณสุขในการเป็นเมืองบริการสุขภาพ การพัฒนาศูนย์ความร่วมมืออาเซียนด้านสาธารณสุข (ศคอส) เตรียมความพร้อมศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (OSS) พัฒนาโครงสร้างสถานบริการสาธารณสุข /พัฒนาคุณภาพบริการฯ , การลงทุน เตรียมความพร้อมด้าน SWI / CCA (Common Control Area ) พัฒนาระบบบริการ เตรียมความพร้อม สมรรถนะบุคลากร พัฒนางานตามแผนพัฒนายุทธศาสตร์ 4 ด้าน (เฝ้าระวัง , บริการฯ , อย. , สวล )

www.health-mqs.com

www.health-mqs.com

www.health-mqs.com

ศูนย์ประสานงานอาเซียน   ด่านควบคุมโรค -เขตเศรษฐกิจพิเศษ -เมืองคู่แฝด/แฝด3 -เมืองสุขภาพอาเซียน สสจ ซ้อมแผน สบรส 13กิจกรรม พัฒนายุทธศาสตร์ฯ สพร 3โครงการ ศูนย์ประสานงานอาเซียน (ศคอส) ควบคุมโรค สนย. ตัวชี้วัดสนย./ผู้ตรวจฯ ประกันสุขภาพฯ กรม คร. IHR,สคร ???? มาตรฐาน IHR MBDS / APPREI เฝ้าระวังฯ พัฒนาบุคลากร ด่าน อย. ตัวชี้วัด ด่าน อย. MBDS แรงงานต่างด้าว ตัวชี้วัด กรมฯ เขต จว IHR คบส. แรงงานต่างด้าว อสต/เครือข่าย แรงงานต่างด้าว แสน สถาบันเด็ก ส่งเสริมฯ ไข้เลือดออกอาเซียน www.health-MQS.com

ศูนย์ ศคอส ข้อมูลจำเป็นดังนี้ - ข้อมูลทั่วไป - ข้อมูลMOU - ข้อมูลทำเนียบหน่วยบริการ - ข้อมูลหน่วยงานที่ประสานงาน - ข้อมูลผู้ประสานงานระดับจังหวัด เขต - Flow chart การส่งต่อ ,CPG - มีแผนยุทธศาสตร์ชายแดน - แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากร - ข้อมูลการให้บริการ - ข้อมูลระบบบริการสุขภาพ - การพัฒนาทักษะภาษา - การกำกับติดตาม ประเมินผล - ช่องทางเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์