ระบบวิทยุกระจายเสียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546 เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป
Advertisements

สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า.
รู้จักกับเทคโนโลยี RFID เบื้องต้น
Network Model Signal and Data transmission
(Global Positioning System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
หลักสูตร หมวดวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมศาสตร์
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การติดตั้งสายอากาศโทรทัศน์
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
การสื่อสารประเภทวิทยุ
Principles of Communications Chapter 1 Introduction
วิทยุโทรทัศน์ Television Broadcasting
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
Communication Media Lect. Thanapon Thiradathanapattaradecha
รายการวิทยุ “ทช.หมอทาง”
ระบบวิทยุ (Radio System) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธราดล โกมลมิศร์
การเผยแพร่รายการ. โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV : Closed Circuit Television) เป็น โทรทัศน์ที่ติดตั้งตามสถานศึกษาต่างๆ ตลอดจนหน่วยงานบางหน่วย โดยมากจะทำ การผลิตรายการทางการสอนแล้วส่งภาพทาง.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปัจจุบัน และทิศทางการพัฒนา
หน่วยที่ 4 ระบบ วิทยุกระจายเสี ยง ระบบ วิทยุกระจ ายเสียง.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ระบบวิทยุคมนาคมสำหรับกระทรวงสาธารณสุข
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
Seismic method นพดล ภูมิวิเศษ เรียบเรียง.
Concept and Terminology Guided media (wired) Twisted pair Coaxial cable Optical fiber Unguided media (wireless) Air Seawater Vacuum Direct link Point.
แสง เสียง และรังสี ในชีวิตประจำวัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
Chapter 1 - Introduction
วิวัฒนาการทางเทคโนโลยี ด้านกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์
Chapter 5 Satellite Systems
Chapter 2 – Wireless Transmission
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
รหัสบ่งชี้โดยใช้ความถี่ของคลื่นวิทยุ
เทคโนโลยีสารพัดประโยชน์
ระบบ RIFD.
Chapter 6 Broadcasting Systems
บทที่ 2 สาระการเรียนรู้ 1. วงจร อาร์ ซี อินติเกรเตอร์ 2. เวลาคงที่
Alternate Current Bridge
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องประชาคมอาเซียน
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ และสูงกว่า
เทคโนโลยี 3G อาจารย์ยืนยง กันทะเนตร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
INTRO MOBILE COMP ผู้สอน ชัชวิทย์ อาภรณ์เทวัญ
บทที่ 14 พัลส์เทคนิค
โครงสร้างโลก.
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 เห็นชอบให้สำนักงาน กพร
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
พลังงาน (Energy).
ยุคแรก ยุคแรก Motorola DynaTAC 8000X (1983)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
By สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หน่วยที่ 2 ระบบมัลติเพล็กซ์ จุดประสงค์การสอน
หน่วยที่ 3 ระบบโครงข่ายสื่อสาร จุดประสงค์การสอน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขั้นสูง
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
1 E 3 S E M N G Invention & Places
ระบบบำบัดน้ำเสียแบบ SBR
Why ? Data Transmission Example : - FA (Factory Automation)
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
บทที่ 7 การจัดการผลผลิตโคเนื้อ
Chapter 02 – Wireless Transmission
Chapter 6 Broadcasting Systems
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบวิทยุกระจายเสียง

ความหมายของระบบวิทยุกระจายเสียง ระบบวิทยุ หมายถึง ระบบที่มีการส่งสัญญาณ จากเครื่องส่งไปยังเครื่องรับโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือที่ เรียกกันง่ายๆ ว่าคลื่นวิทยุ ประเภทของคลื่นวิทยุ ๑. คลื่นกล (mechanical wave) คือ คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการ เคลื่อนที่สามารถถ่ายทอดและโมเมนตัมโดยอาศัยความยืดหยุ่น ของตัวกลาง เช่น คลื่นเสียง คลื่นน้ำ

๒.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic wave) คือ คลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น แสง คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่นวิทยุมีสมบัติคือ สามารถสะท้อนได้ที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์บรรยากาศในชั้นนี้ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าอยู่เป็นจำนวนมากเมื่อคลื่นวิทยุเคลื่อนที่มาถึงจะสะท้อนกลับสู่ผิวโลกอีก คลื่นวิทยุสามารถเคลื่อนที่ไปถึงเครื่องรับวิทยุได้ 2 ทาง คือ ๑.. คลื่นดิน ( Ground Wave ) คือ คลื่นที่วิ่งไปตามแนวราบระดับพื้นดินจากสถานีส่งถึงผู้รับฟังเป็นแนวเส้นตรงปกติจะมีรัศมีประมาณ 80 กิโลเมตร ๒. คลื่นฟ้า ( Sky Wave ) คือ คลื่นที่วิ่งขึ้นไปกระทบบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์แล้วสะท้อนกลับลงมายังผู้รับฟังวิธีนี้สามารถแก้ปัญหาเรื่องความโค้งของผิวโลกได้

ระบบวิทยุกระจายเสียง วิทยุกระจายเสียงแพร่เสียงใน 3 ช่วงความถี่คือ (1) ความถี่กลาง (Medium Frequencies) สำหรับคลื่นยาวช่วงความถี่ 300-3000 KHz ใช้ในกิจการการส่งวิทยุเพื่อการเดินเรือ/การค้นหา ทิศทาง/วิทยุกระจายเสียง เอเอ็ม (2)ความถี่สูง (High Frequencies) สำหรับคลื่นสั้น (Short Waves)ช่วงความถี่ 3-30 MHz ใช้ในกิจการวิทยุเพื่อการค้นหาและช่วยเหลือ/การสื่อสาร อากาศกับพื้นดิน/โทรเลข/โทรศัพท์/โทรสาร/วิทยุ เอเอ็ม คลื่นสั้น (3) ความถี่สูงมาก (Very High Frequencies-VHF) ช่วงความถี่30-300 MHz ใช้ในกิจการส่งโทรทัศน์/วิทยุระบบ เอฟเอ็ม/วิทยุควบคุมจราจร ทางอากาศ/วิทยุตำรวจและแท็กซี่

หลักการส่งวิทยุกระจายเสียง ในการส่งวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุทุกแห่งจะ ประกอบด้วย ห้องส่งกระจายเสียง เป็นที่รวมของเสียงซึ่งมาจาก แหล่งต่างๆ ได้แก่เสียงพูด เสียงดนตรีและเสียงประกอบในห้องนี้จะ มีอุปกรณ์สำคัญ เช่น ไมโครโฟน เครื่องเล่นซีดี เครื่องเล่น แผ่นเสียง เครื่องบันทึกเทปหรือซีดี เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ บันทึกและตัดต่อเสียง แผงควบคุมเสียง รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบใน การผลิตรายการต่างๆ  

ห้องเครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง จะแยกกันอยู่คนละส่วนกับ ห้องส่งกระจายเสียง เครื่องส่งจะทำหน้าที่กำเนิดคลื่นวิทยุ ผสม สัญญาณเสียงที่ส่งมาจากห้องส่งกระจายเสียงกับคลื่นวิทยุ และทำ การแพร่สัญญาณที่ถูกผสมแล้วไปตามสายอากาศของเครื่องส่ง เพื่อแพร่กระจายไปยังเครื่องรับของผู้ฟัง ตามความถี่และระบบที่ กำหนดไว้

หลักการส่งวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุ (radio station) สายอากาศเครื่องรับ สายอากาศเครื่องส่ง (antenna) เครื่องควบคุมเสียง (control console) เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง (broadcast transmitter) ไมโครโฟน (microphone) ลำโพง (loudspeaker) เครื่องรับวิทยุ (radio receiver) ผู้ฟังตามบ้านเรือน listener’s home

ระบบวิทยุ ๑.ระบบ AM ๒.ระบบ FM ๓.ระบบดิจิทัล