สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ทางรถไฟสายมรณะ ทางรถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่ควรรำลึกและจดจำ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
กระบวนการของการอธิบาย
การสื่อสารข้อมูล.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
เกมทายนิสัย. 1 ให้ท่านเลือกตอบข้อใดข้อหนึ่งเพียงข้อ เดียว (A,B,C) ท่านจะขับรถไปทางไหน A,B หรือ C A มีสุนัขยืนอยู่, B มีเด็กหญิงเด็กชาย ยืนอยู่, C เด็กผู้หญิงยืนอยู่
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การบริหารโครงการ Project Management
Galileo Galilei.
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
การส่งกำลังบำรุงในระดับต่าง ๆ ของ ทบ.
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
广西外国语学院 东南亚语言文化学院 泰语系 《泰语口语》网络课程制作组
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
บทที่ 1 การวางแผนการปฏิบัติงานสำหรับงานขนส่ง
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยิ้มก่อนเรียน.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
เศษส่วนและทศนิยม.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 3 การประยุกต์ของ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว สิ่งที่ต้องรู้ อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา เวลา = ระยะทาง อัตราเร็ว ระยะทาง = อัตราเร็ว × เวลา

สมปองขับด้วยอัตราเร็ว ตัวอย่างที่ 1 สมปองและสมชายขับรถออกจากจุดเริ่มต้นเดียวกัน เวลาเดียวกัน แต่ขับรถไปในทางตรงข้ามกัน ถ้าสมปองขับรถด้วยอัตราเร็วน้อยกว่าสมชาย 15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากทั้งสองขับรถได้ 5 ชั่วโมง โดยไม่หยุดพัก รถทั้งสองคันอยู่ห่างกัน 825 กิโลเมตร จงหาว่าสมปองและสมชายขับรถด้วยอัตราเร็ว กี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง โจทย์บอกอะไรบ้าง จุดเริ่มต้น สมชายขับด้วยอัตราเร็ว x กม./ชม. สมปองขับด้วยอัตราเร็ว x - 15 กม./ชม. เวลา 5 ชม. เวลา 5 ชม. 825 กิโลเมตร โจทย์ถามหา สมปองและสมชายขับรถด้วยอัตราเร็วกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ กำหนดให้ สมชายขับรถด้วยอัตราเร็ว x กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว เวลา ระยะทาง สมชาย x 5 5x สมปอง x - 15 5 5(x - 15) ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ รถทั้งสองคันอยู่ห่างกัน 825 กิโลเมตร ดังนั้น 5x + 5(x - 15) = 825

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ 5x + 5(x - 15) = 825 5x + 5x - 75 = 825 10x - 75 = 825 10x = 825 + 75 10x = 900 x = 90 แทน x ด้วย 90 ในสมการ 5x + 5(x - 15) = 825 จะได้ 5(90) + 5(90 - 15) = 825 450 + 5(75) = 825 450 + 375 = 825 825 = 825 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น สมชายขับรถด้วยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง และสมปองขับรถด้วยอัตราเร็ว 90 - 15 = 75 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ตัวอย่างที่ 2 โจทย์บอกอะไรบ้าง โจทย์ถามหา มานะขี่รถจักรยานยนต์ด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไปตามถนนสายหนึ่ง อีกสองชั่วโมงต่อมา มาโนชขี่รถจักรยานยนต์ตามไปด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยออกจากจุดเริ่มต้นเดียวกันไปทางเดียวกัน จงหาว่า มาโนชขี่รถกี่ชั่วโมงจึงจะไปทันมานะ โจทย์บอกอะไรบ้าง มานะขี่รถจักรยานยนต์ด้วยอัตราเร็ว 60 กม./ชม. เวลา x ชั่วโมง จุดเริ่มต้น มาโนชขี่รถจักรยานยนต์ด้วยอัตราเร็ว 80 กม./ชม.   เวลา x - 2 ชั่วโมง โจทย์ถามหา มาโนชขี่รถกี่ชั่วโมงจึงจะไปทันมานะ

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ กำหนดให้ มานะออกเดินทางมาได้ x ชั่วโมง ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว เวลา ระยะทาง มานะ 60 x 60x มาโนช 80 x - 2 80(x - 2) ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ มาโนชขี่รถกี่ชั่วโมงจึงจะไปทันมานะ ดังนั้น 60x = 80(x - 2)

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ 60x = 80(x - 2) 60x = 80x - 160 160 = 80x - 60x 160 = 20x x = 8 แทน x ด้วย 8 ในสมการ 60x = 80(x - 2) จะได้ 60(8) = 80(8 - 2) 480 = 80(6) 480 = 480 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น มาโนชจะต้องขี่รถ 8 - 2 = 6 ชั่วโมง จึงจะไปทันมานะ

พรชัยขับรถด้วยอัตราเร็ว ศรัญขับรถด้วยอัตราเร็ว ตัวอย่างที่ 3 พรชัยและศรัญมีบ้านอยู่บนถนนสายเดียวกันและอยู่ห่างกัน 20 กิโลเมตร วันนี้ทั้งสองคนนัดออกจากบ้านพร้อมกันเวลา 7.00 น. เพื่อไปประชุมที่อำเภอซึ่งอยู่บนถนนสายเดียวกัน บ้านของศรัญอยู่ใกล้กับอำเภอมากกว่าบ้านของ พรชัย ถ้าพรชัยขับรถด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และศรัญขับรถด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พรชัยจะถึงอำเภอก่อนศรัญ 10 นาที จงหา ว่าอำเภออยู่ห่างจากบ้านของศรัญกี่กิโลเมตร โจทย์บอกอะไรบ้าง พรชัยขับรถด้วยอัตราเร็ว 80 กม./ชม. ศรัญขับรถด้วยอัตราเร็ว 60 กม./ชม. อำเภอ พ ศ 20 กิโลเมตร x กิโลเมตร x + 20 กิโลเมตร

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ โจทย์ถามหา อำเภออยู่ห่างจากบ้านของศรัญกี่กิโลเมตร กำหนดให้ x แทน ระยะทางจากบ้านของศรัญถึงอำเภอ ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว ระยะทาง เวลา ศรัญ 60 x x / 60 พรชัย 80 x + 20 (x + 20) / 80 ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ พรชัยจะถึงอำเภอก่อนศรัญ 10 นาที ดังนั้น x x + 20 10 - = 60 80 60

ดังนั้น อำเภออยู่ห่างจากบ้านของศรัญ แก้สมการ ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย 100 ในสมการ จะได้ เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น อำเภออยู่ห่างจากบ้านของศรัญ 100 กิโลเมตร

ตัวอย่างที่ 4 โจทย์บอกอะไรบ้าง รถไฟขบวน ก และขบวน ข ออกจากสถานีบ้านม้า โดยแล่นตามกันไปยังสถานีปลายทางที่เดียวกัน ถ้ารถไฟขบวน ก ออกจากสถานีเมื่อเวลา 6.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟขบวน ข ออกจากสถานีเมื่อเวลา 8.30 น. ด้วยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาว่ารถไฟขบวน ข แล่นไปทันขบวน ก เมื่อเวลาใด และจุดที่รถไฟทั้งสองแล่นทันกันนั้นอยู่ห่างจากสถานีบ้านม้ากี่กิโลเมตร โจทย์บอกอะไรบ้าง รถไฟขบวน ข ออกจากสถานีเวลา 8.30 น. ด้วยอัตราเร็ว 60 กม./ชม. รถไฟขบวน ก ออกจากสถานีเวลา 6.00 น. ด้วยอัตราเร็ว 40 กม./ชม. สถานีบ้านม้า x นาที 150 นาที x + 150 นาที

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ โจทย์ถามหา - รถไฟขบวน ข แล่นไปทันขบวน ก เมื่อเวลาใด - จุดที่รถไฟทั้งสองแล่นทันกันนั้นอยู่ห่างจากสถานีบ้านม้ากี่กิโลเมตร กำหนดให้ x แทน ระยะเวลา (นาที) ที่รถไฟขบวน ข ออกจากมาสถานี ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว เวลา ระยะทาง รถไฟขบวน ก 40 x + 150 40(x + 150) รถไฟขบวน ข 60 x 60x ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ รถไฟขบวน ข แล่นไปทันขบวน ก เมื่อเวลาใด ดังนั้น 60x 40(x + 150) = 60 60

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย 300 ในสมการ จะได้ เป็นสมการที่เป็นจริง

ดังนั้น 1. รถไฟขบวน ข แล่นไปทันขบวน ก เมื่อเวลา 13.30 น. (จาก 08.30 น. เพิ่มไปอีก 300 นาที หรือ 5 ชั่วโมง) 2. จุดที่รถไฟทั้งสองแล่นทันกันนั้นอยู่ห่างจากสถานีบ้านม้า 60(5) = 300 กิโลเมตร

เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3 1 สมชายออกเดินทางด้วยอัตราเร็ว 5 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อเวลา 09.00 น. อีก 2 ชั่วโมงต่อมา สมโชคออกเดินทางตามมาโดยใช้เส้นทางเดียวกับสมชายด้วยอัตราเร็ว 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สมโชคจะเดินทางทันสมชายเมื่อเวลาเท่าไร โจทย์บอกอะไรบ้าง อีก 2 ชม.ต่อมา (11.00 น.) สมโชคออกเดินทาง ด้วยอัตราเร็ว 10 กม./ชม. เมื่อเวลา 09.00 น. สมชายออกเดินทาง ด้วยอัตราเร็ว 5 กม./ชม. จุดเริ่มต้น x ชม. 2 ชม. x + 2 ชม.

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ โจทย์ถามหา สมโชคจะเดินทางทันสมชายเมื่อเวลาเท่าไร กำหนดให้ x แทน ระยะเวลา (ชั่วโมง) หลังจากที่สมโชคออกเดินทาง ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว เวลา ระยะทาง สมชาย 5 x + 2 5(x + 2) สมโชค 10 x 10x ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ สมโชคจะเดินทางทันสมชายเมื่อเวลาเท่าไร ดังนั้น 5(x + 2) = 10x

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ 5(x + 2) = 10x 5x + 10 = 10x 10 = 10x - 5x 10 = 5x x = 2 แทน x ด้วย 2 ในสมการ 5(x + 2) = 10x จะได้ 5(2 + 2) = 10(2) 5(4) = 20 20 = 20 เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น สมโชคจะเดินทางทันสมชายอีก 2 ชั่วโมง ในเวลา 13.00 น.

แก่นขี่จักรยานด้วยอัตราเร็ว x กม./ชม. 2 วิทย์และแก่นขี่จักรยานออกจากบ้านซึ่งอยู่ห่างกัน 30 กิโลเมตร ในเวลาเดียวกัน โดยอัตราเร็วในการขี่จักรยานของวิทย์เป็น เท่าของอัตราเร็วของแก่น ถ้าเขาพบกัน ในเวลา 2 ชั่วโมง จงหาอัตราเร็วในการขี่จักรยานของทั้งสองคน โจทย์บอกอะไรบ้าง พบกันในเวลา 2 ชม. แก่นขี่จักรยานด้วยอัตราเร็ว x กม./ชม. วิทย์ขี่จักรยานด้วย อัตราเร็ว (3/2)x กม./ชม. 30 กิโลเมตร

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ โจทย์ถามหา อัตราเร็วในการขี่จักรยานของทั้งสองคน กำหนดให้ x แทน อัตราเร็วในการขี่จักรยานของแก่น ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว เวลา ระยะทาง วิทย์ 2 = 3x แก่น x 2 2x ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ บ้านของวิทย์และแก่นอยู่ห่างกัน 30 กิโลเมตร ดังนั้น 3x + 2x = 30

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย 6 ในสมการ 3x + 2x = 30 จะได้ 3(6) + 2(6) = 30 18 + 12 = 30 30 = 30 เป็นสมการที่เป็นจริง 3x + 2x = 30 5x = 30 x = 6 ดังนั้น อัตราเร็วในการขี่จักรยานของแก่น เท่ากับ 6 กม./ชม. และอัตราเร็วในการขี่จักรยานของวิทย์ เท่ากับ = 9 กม./ชม.

3 รฐาขี่รถจักรยานไปตามถนนสายหนึ่งด้วยอัตราเร็ว 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขากลับเขาใช้เส้นทางเดิม แต่อัตราเร็วเปลี่ยนเป็น 8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ถ้ารฐาใช้เวลา ขี่รถจักรยานไปและกลับ 3 ชั่วโมงแล้ว จงหาว่ารฐาขี่รถจักรยานทั้งหมดกี่กิโลเมตร โจทย์บอกอะไรบ้าง จุดเริ่มต้น ขาไปขี่รถจักรยานด้วยอัตราเร็ว 10 กม./ชม. ระยะทาง x กม. ขากลับขี่รถจักรยานด้วยอัตราเร็ว 8 กม./ชม. ระยะทาง x กม. โจทย์ถามหา รฐาขี่รถจักรยานทั้งหมดกี่กิโลเมตร

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ กำหนดให้ รฐาขี่รถจักรยานขาไปและขากลับเที่ยวละ x กิโลเมตร ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว ระยะทาง เวลา ขาไป 10 x x/10 ขากลับ 8 x x/8 ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ ถ้ารฐาใช้เวลาขี่รถจักรยานไปและกลับ 3 ชั่วโมง ดังนั้น x x + = 3 10 8

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย ในสมการ จะได้ เป็นสมการที่เป็นจริง ดังนั้น รฐาขี่รถจักรยานขาไปและขากลับ เที่ยวละ 40/3 กิโลเมตร

ต่อขี่รถจักรยานยนต์ด้วยอัตราเร็ว x กม./ชม. 4 ต่อและติ๊กนัดพบกันที่หน้าตลาดสด ซึ่งอยู่กึ่งกลางของระยะทางระหว่างบ้านของต่อและติ๊กพอดี ต่อขี่รถจักรยานยนต์ส่วนติ๊กขับรถอีแต๋น ซึ่งอัตราเร็วของรถจักรยานยนต์ของต่อมากกว่าอัตราเร็วของรถอีแต๋นของติ๊ก 24 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ถ้าต่อใช้เวลาเดินทาง 12 นาที และติ๊กใช้เวลาเดินทาง 20 นาที จงหาอัตราเร็วของรถทั้งสองคันและระยะทางระหว่างบ้านของคนสองคน โจทย์บอกอะไรบ้าง ต่อขี่รถจักรยานยนต์ด้วยอัตราเร็ว x กม./ชม. ติ๊กขี่รถอีแต๋นด้วย อัตราเร็ว x - 24 กม./ชม. ตลาดสด ใช้เวลา 12 นาที ใช้เวลา 20 นาที เท่ากัน

ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ โจทย์ถามหา - อัตราเร็วของรถทั้งสองคัน - ระยะทางระหว่างบ้านของคนสองคน กำหนดให้ x แทน อัตราเร็วในการขี่รถจักรยานยนต์ของต่อ ใส่ข้อมูลลงในตาราง ข้อมูล อัตราเร็ว เวลา ระยะทาง ต่อ x 12 12x ติ๊ก x - 24 20 20(x - 24) ประโยคที่ใช้ในการตั้งสมการ ตลาดสดอยู่กึ่งกลางบ้านของต่อและติ๊ก 12x 20(x - 24) ดังนั้น = 60 60

เป็นสมการที่เป็นจริง แก้สมการ ตรวจคำตอบ แทน x ด้วย 60 ในสมการ จะได้ เป็นสมการที่เป็นจริง

ดังนั้น 1. อัตราเร็วของรถจักรยานยนต์ของต่อ เท่ากับ 60 กม./ชม. อัตราเร็วของรถอีแต๋นของติ๊ก เท่ากับ 60 - 24 = 36 กม./ชม. 2. ระยะทางระหว่างบ้านของทั้งสองคน เท่ากับ 12 + 12 = 24 กม.