Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
Advertisements

“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 10 ผลตอบแทนที่คำนึงถึงความเสี่ยง ของกลุ่มหลักทรัพย์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การแก้ไขปัญหา เงินเฟ้อ เงินฝืด
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
1.
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
เงินเฟ้อ Inflation.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การค้าระหว่างประเทศ International Trade
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
รายงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรม
กลุ่มที่ 4 ต้นแบบระบบสารสนเทศ ด้านการคลังเพื่อการบริหารจัดการ.
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Supply Chain Logistics
บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 2 ความสำคัญและการคำนวณรายได้ประชาชาติ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์

1. ความหมายของเงินเฟ้อ เงินเฟ้อ : ภาวะที่ระดับราคาสินค้าสูงขึ้นเรื่อยๆ และไม่จำเป็นว่าราคา สินค้าทุกชนิดต้องสูงขึ้นในเวลาที่เกิดเงินเฟ้อ อาจมีสินค้าบางชนิดราคา ราคาลดลงได้และบางชนิดราคาสูงขึ้น แต่สิ่งสำคัญคือ เมื่อพิจารณาราคาทั้งหมดแล้วโดยเฉลี่ยมีราคาสูงขึ้น เราดูเงินเฟ้อได้จากดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer price index: CPI) ดัชนีราคา : ตัวเลขที่แสดงระดับราคาของปีได้ปีหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับระดับราคาของปีฐาน โดยให้ระดับราคาของปีฐานเทียบเท่ากับ 100

ความหมายของเงินเฟ้อ (continued) อัตราเพิ่มของดัชนีราคาผู้บริโภคที่คำนวณออกมาในรูปร้อยละ แสดงถึง อัตราเงินเฟ้อ (Inflation rate) Inflation rate t = [(CPIt – CPIt-1)/ CPIt-1] * 100 Inflation rate 2016 = [(CPI2016 – CPI2015) / CPI2015 ] * 100

2. สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ 2.1 เงินเฟ้อด้านอุปสงค์ เป็นเงินเฟ้อที่เกิดจากอุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น (AD)ในขณะที่อุปทานรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ เงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์เรียกว่า Demand - Pull Inflation. AD เพิ่มขึ้น เนื่องจาก : - ส่วนประกอบของAD เพิ่มขึ้น คือ C , I , G , หรือ X เพิ่มขึ้น - ปริมาณเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ (Money Supply: MS) เพิ่มขึ้นเนื่องจากการขยายสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์

สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ (continued) How does commercial bank create money supply? Decrease interest rate (r) Bank policy eg. expand credit line, adjust collateral Economy MS Increase: C, I, G, (X-M) through multipliers Bank Decrease r Price increase

การวิเคราะห์เงินเฟ้อทางด้านอุปสงค์ AS P E’ D F AD2 P’ AD2 P AD1 E AD1 Q Yf Ya Qf รายได้ระดับที่จ้างงานเต็มที่ (P*Q,fixed) ผลผลิตสูงสุดที่มีการจ้างงานเต็มที่

2.2 เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปทาน 2.2 เงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุด้านอุปทาน เป็นเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น ทำให้ผู้ผลิตจะต้องเสนอขายสินค้าในราคาที่สูงขึ้น เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปทานเรียกว่า Cost - Push Inflation ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นเนื่องจาก 1. ค่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น (while productivity constant) ราคาเชื้อเพลิงและวัตถุดิบสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต ต้นทุนของเงินทุน (Cost of fund) เพิ่มขึ้น : high interest rate

การวิเคราะห์เงินเฟ้อทางด้านอุปทาน P AS E’ P’ P E AD Q Q’ Qf ผลการผลิตสูงสุดที่ระดับการจ้างงานเต็มที่

3. ผลกระทบของเงินเฟ้อ 1. อำนาจการซื้อลดลง 1. อำนาจการซื้อลดลง 2. การออมและการลงทุนลดลง (High consumption in the current period) 3. การกระจายรายได้เหลื่อมล้ำมากขึ้น บุคคลที่ได้ประโยชน์จากเงินเฟ้อ เจ้าของกิจการ ผู้ผลิต นักเก็งกำไร ลูกหนี้ บุคคลที่เสียประโยชน์ ผู้ที่มีรายได้ประจำ เจ้าหนี้ 4. การส่งออกของประเทศลดลง การนำเข้าเพิ่มขึ้น

4. การแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ การแก้ปัญหาเงินเฟ้อจะทำได้โดยลดอุปสงค์รวม (AD) ซึ่งสามารถทำได้โดยใช้นโยบายการเงิน และ นโยบายการคลัง นโยบายการคลัง : เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษี และการใช้จ่าย ของรัฐบาล เมื่อเกิดเงินเฟ้อรัฐบาลควรมีงบประมาณเกินดุล นโยบายการเงิน : เกี่ยวข้องกับการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ เมื่อเกิดเงินเฟ้อธนาคารควรลดการปล่อยสินเชื่อ

เงินฝืด (Deflation) : ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไปลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากอุปสงค์มีน้อยกว่าปริมาณสินค้าทำให้สินค้าเหลือ ราคาสินค้าลดลง การผลิตลดลง การจ้างงานลดลง รายได้ลดลง ผลของเงินฝืด : อำนาจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น ผู้ที่ได้ประโยชน์ : เจ้าหนี้ , ผู้มีรายได้ประจำ ผู้ที่เสียประโยชน์ : ผู้ที่มีรายได้จากกำไร , ลูกหนี้ การแก้ปัญหาเงินฝืด : ใช้นโยบายการเงิน การคลัง เพื่อกระตุ้นให้ อุปสงค์รวมสูงขึ้น

5. การว่างงาน (Unemployment) : ภาวะการณ์ที่บุคคลซึ่งอยู่ในวัยทำงาน (from 13 years) มีความสามารถที่จะทำงานและสมัครใจที่จะทำงาน แต่ไม่สามารถหางานทำได้ จึงทำให้ไม่มีงานทำ เราถือว่าบุคคลเหล่านี้ว่างงานโดยไม่สมัครใจ (Involuntary Unemployment) ประเภทของการว่างงาน 1. การว่างงานโดยเปิดเผย (in survey period): temporary, seasonal 2. การว่างงานแอบแฝง หรือ การทำงานต่ำกว่าระดับ

ผลกระทบของการว่างงาน 1. การใช้ประโยชน์จากแรงงานไม่เต็มที่ 2. การออมและการลงทุนของประเทศลดลง 3. การกระจายรายได้เหลื่อมล้ำมากขึ้น 4. การคลังของรัฐบาลแย่ลง (T ลด, G เพิ่ม) การแก้ใขปัญหาการว่างงาน แก้ปัญหาตามประเภทของการว่างงาน