บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัย โดย นางสาวพิศมัย ยอดพรหม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธฺวาส
กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย หัวหน้ากลุ่มงาน งานอนามัยสิ่งแวดล้อม นักวิชาการสาธารณสุข เจ้าพนักงานสาธารณสุข งานอาชีวอนามัย ธุรการ เจ้าพนักงานธุรการ
ความสำคัญในงานอาชีวอนามัย ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ บุคคล/สิ่งแวดล้อม/ระบบบริการ กลุ่มวัย-วัยทำงาน สถิติ ปี 2559 จำนวน 37.79 ล้านคน /ผู้สูงอายุจะ เพิ่มขึ้น เวลาทำงาน 1 ใน 3 ของวัน – ส่งเสริมสุขภาพเหมาะสมกับกลุ่มวัย-การ จัดบริการอาชีวอนามัยที่ครบวงจร-สิ่งแวดล้อมดี(กายภาพ เคมี ชีวภาพ Ergonomic สังคม) มีความปลอดภัย ลดโรค สุขภาพดี อายุยืน พึ่งตนเอง ได้ เจ้าหน้าที่/ประชาชน ไม่เข้าใจ ในความเสี่ยง/อันตรายโรคจากการทำงาน ระยะเวลาการสัมผัส-ปริมาณ-อัตราการเกิดโรค
วิธีการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัย เป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับประเทศ/เขต ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-กำหนดกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลพื้นฐาน บุคคล (เดิม/ใหม่-องค์ความรู้ที่ต้องการพัฒนาศักยภาพ) งบประมาณ-วัสดุอุปกรณ์ มี/ขาด จัดหาเพิ่ม/สอบเทียบ กำหนดแผน จัดทำโครงการ/งบประมาณ จัดทำแผนการดำเนินงาน รพ.ประเมินตนเอง-นิเทศ-รพ.ประเมินตนเอง-ประเมินผล
กลวิธีการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัย ศึกษาแนวทาง ขั้นตอนวิธีการดำเนินงานให้เข้าใจ สามารถ อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานแก่กลุ่มเป้าหมาย ให้เข้าใจเกณฑ์ บทบาทในการดำเนินงาน จัดอบรมพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบงาน (ตามการประเมิน ศักยภาพ/ความต้องการ) ตรวจสอบเครื่องมือ/อุปกรณ์ พร้อมใช้
กลวิธีการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัย จัดทำคำสั่งคณะกรรมการนิเทศ ประเมินผลระดับจังหวัด พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง เน้นการเดินไปพร้อมๆกัน พี่สอนน้อง การเป็นต้นแบบ
กลวิธีการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัย เน้นการบูรณาการงาน+ภาคีเครือข่าย การตรวจประเมินร่วมกับงานสถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน , GREEN&CLEAN Hospital ร่วมกับงานอื่นๆ ของ สสจ. เช่น งานสุขภาพจิต, งานส่งเสริม, คร. , NCD, พัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ, คบ. ร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอก เช่น สสค., ทสจ, ประกัน, อุตสาหกรรม , เกษตร
ขั้นตอนการดำเนินงาน ชี้แจง รพ. /เกณฑ์ /บทบาท /งาน อาชีวอนามัยใน รพ. ภาคเกษตร อุตสาหกรรม
ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดทำคำสั่ง ทีมพี่เลี้ยง/ทีมประเมิน ประกอบด้วย รพ.พี่เลี้ยง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัดนราธิวาส ประกันสังคมจังหวัดนราธิวาส ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนราธิวาส อุตสาหกรรมจังหวัดนราธิวาส กลุ่มงาน ใน สสจ.
ขั้นตอนการดำเนินงาน รพ.ประเมินตนเองครั้งที่ ๑ และจัดทำแผนการดำเนินงานเติม เต็มส่วนขาด นิเทศ ครั้งที่ ๑ วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค แนวทางการแก้ไข ทีมพี่ เลี้ยง ช่วยให้คำแนะนำ เติมเต็มส่วนขาด ชี้แจงผู้บริหารให้เห็น ความสำคัญงานอาชีวอนามัย สนับสนุนให้ผู้รับผิดชอบงาน สามารถดำเนินงานได้ตามแนวทางที่กำหนด มีช่องทางในการให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงาน สนับสนุนงบประมาณ เครื่องมือ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน นิเทศการบริการเชิงรุก ใน สปก. ร่วมด้วย
เครื่องมือที่สนับสนุนในการดำเนินงานอาชีวอนามัย ใน รพ. Sound level meter จำนวน 2 เครื่อง Lux meter จำนวน 2 เครื่อง Audiometer จำนวน 2 เครื่อง Orthorator จำนวน 2 เครื่อง Spirometer จำนวน 2 เครื่อง
เครื่องมือที่สนับสนุนในการดำเนินงานเกษตร จาก สคร. ๑๒
ขั้นตอนการดำเนินงาน รพ.ดำเนินงานตามแผน ประเมินตนเองครั้งที่ ๒ ตรวจประเมินผลการดำเนินงาน โดย คณะกรรมการฯ สรุปผล แจ้ง สคร.๑๒
การดำเนินงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เช่น โรงงาน โรงเรียน วิสาหกิจ ตรวจวัดเสียง กรณีเหตุรำคาญ วิทยากรด้านอาชีวอนามัย เช่น ในโรงพยาบาล ในโรงงาน เกษตรกร
บทเรียนในการดำเนินงานอาชีวอนามัยที่ผ่านมา เข้าใจ ความตระหนัก ทีมงาน เสริมพลัง ความต่อเนื่อง/ความยั่งยืน