งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับเสียงดัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับเสียงดัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับเสียงดัง
1 อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับเสียงดัง 22/5/2016

2 เนื้อหา ลักษณะของเสียง ประเภทของเสียง อันตรายที่เกิดจากเสียงดัง
22/5/2559 เนื้อหา 2 ลักษณะของเสียง ประเภทของเสียง อันตรายที่เกิดจากเสียงดัง อันตรายที่เกิดจากความสั่นสะเทือน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 วิชาอาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน: สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย> 2

3 1. อันตรายจากเสียง (Noise)
3 วิทยา อยู่สุข, 2549 เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน, 2554 ขวัญหทัย ยิ้มละมัย และรัตนวดี ทองบัวบาน, 2556 อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

4 1.1 ลักษณะของเสียง 4 เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ส่งผ่าน ตัวกลาง (ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ) ผ่านเข้าสู่หูของ ผู้ปฏิบัติงาน ทำให้เกิดการได้ยิน ทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แบ่ง ลักษณะเสียงออกเป็น 2 ชนิด เสียงที่ไม่รบกวน (Sound) เสียงที่ฟังแล้วเกิดความเพลิดเพลิน ไม่รู้สึกว่ารบกวน เช่น เสียงเพลง เสียงดนตรี เป็นต้น 2. เสียงรบกวน (Noise) เสียงที่เราไม่ต้องการ รบกวนการทำงาน ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง ส่งผลให้เกิดโรคจากการทำงาน คือ การสูญเสียสมรรถภาพในการได้ยิน อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

5 1.2 ประเภทของเสียง 5 ในงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แบ่งเสียง ออกเป็น 3 ประเภท 1. เสียงดังแบบต่อเนื่อง (Continuous Noise) เป็น เสียงดังที่เกิดต่อเนื่อง 1.1 เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (steady-state noise) มีระดับเสียงเปลี่ยนแปลง ไม่เกิน 3 dB เสียงเครื่องจักรเดินต่อเนื่อง เสียงจากเครื่องทอผ้า เสียงพัดลม เสียงแอร์ 1.2 เสียงต่อเนื่องที่ไม่คงที่ (Non steady-state noise) ระดับเสียงเปลี่ยนแปลง เกินกว่า 10 dB เช่น เสียงจากเลื่อยวงเดือน เครื่องเจียระไน เสียงไซเรน เป็นต้น อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 5

6 1.2 ประเภทของเสียง (ต่อ) 6 ในงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แบ่งเสียง ออกเป็น 3 ประเภท 2. เสียงดังเป็นระยะ (intermittent noise) เป็นเสียง ดังที่ไม่ต่อเนื่อง มีความดังหรือเบาสลับไปมาเป็น ระยะๆ เช่น เสียงเครื่องปั๊มอัดลม เสียงการจราจร เสียงเครื่องบินที่บินผ่านไปมา 3. เสียงกระทบหรือกระแทก (impulse or impact noise) เสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดลงอย่างรวดเร็วใน เวลาน้อยกว่า 1 วินาที มีการเปลี่ยนแปลงเสียง มากกว่า 40 dB เช่น การตอกเสาเข็ม การปั๊มชิ้นงาน การทุบหรือเคาะอย่างแรง เป็นต้น อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

7 1.3 นิยามเกี่ยวกับเสียง ความดังของเสียง ความถี่ของเสียง
7 ความดังของเสียง หน่วยที่ใช้วัด คือ เดซิเบล (Decibel: dB) การวัดเสียงที่คนงาน เกี่ยวข้องนั้นปกติจะใช้สเกล เอ(A-weighting) เพราะเป็น สเกลที่มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับการตอบสนอง ของหูคน ดังนั้นหน่วยของ เสียงที่วัด จึงเป็น เดซิเบล (เอ) dB(A) การประเมินเสียงนั้น เมื่อมี การเพิ่มจำนวนเครื่องจักร เป็นสองเท่า มิได้หมายความ ว่า ระดับเสียงจะดังขึ้นเป็น สองเท่า แต่จะเพิ่มขึ้นเพียง 3 dB ความถี่ของเสียง จำนวนคลื่นเสียงที่วิ่งผ่าน จุดหนึ่งๆ ในเวลา 1 วินาที หน่วยที่ใช้วัด คือ รอบต่อ วินาที / เฮิรตซ์ (Hertz: Hz) ปกติความถี่ที่มนุษย์ สามารถได้ยิน คือ ประมาณ 20 – 20,000 Hz ความถี่ของการพูดคุย สนทนาอยู่ระหว่าง 500 – 2,000 Hz อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

8 1.4 กลไกการได้ยิน หู ชั้นนอ ก หูชั้นใน หูชั้น กลาง กระดูก โกลน
8 กระดูก โกลน กระดู กทั่ง กระดูก ค้อน หู ชั้นนอ ก หู แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย หูส่วนนอก หูส่วนกลาง และหูส่วนใน หูแต่ละส่วนดังกล่าวต่างก็มีหน้าที่เกี่ยวข้องในกระบวนการได้ยิน โดย หูส่วนนอกจะรับ และส่งคลื่นเสียงไปยังหูส่วนกลาง ซึ่งจะไปกระทบเยื่อแก้วหู จุดนี้นับว่าเป็นจุดแรกในการส่งสัญญาณของกระบวนการได้ยิน หูส่วนกลางประกอบด้วยเยื่อแก้วหู และโครงสร้างอื่น ๆ จะอยู่ถัดเยื่อแก้วหูเข้าไปภายในหูชั้นกลางนั้น จะเต็มไปด้วยอากาศ และมีกระดูกหู 3 ชิ้น ยึดติดต่อกันเป็นสายโซ่ คือมีกระดูกค้อน ทั่ง และโกลน กระดูกชิ้นที่ 3 หรือ กระดูกโกลนนั้น จะขยายเสียง จะเชื่อมติดกับหูชั้นใน หูชั้นใน ที่เกี่ยวข้องกับการรับเสียง ประกอบด้วยอวัยวะรูปก้นหอย (cochlea) ซึ่งมีของเหลวอยู่เต็มและมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ เซลล์ขน (organ of corti) ที่ละเอียดอ่อนจำนวนมากมายซึ่งไวต่อเสียงอยู่ในของเหลวนั้น เมื่อเยื่อแก้วหูสั่น กระดูกทั้ง 3 ชิ้นของหูชั้นกลาง ก็จะเคลื่อนไหวส่งต่อไปยังหูชั้นในทำให้ของเหลวที่อยู่ภายในสั่นไปด้วย เมื่อของเหลวนั้นสั่นเซลล์ขนที่ละเอียดอ่อนนั้น ก็จะถูกกระตุ้นแล้วส่งสัญญาณไปยังสมอง เพื่อรับทราบและสั่งการเพื่อตอบสนองในกรณีที่ได้รับเสียงที่ดังเป็นระยะเวลานาน ๆ จะทำให้เซลล์ขนหรือเซลล์ประสาทเสื่อมสภาพหรือถูกทำลาย แล้วก่อให้เกิดการสูญเสีย การได้ยินในที่สุด อย่างไรก็ตามการเสื่อมสภาพของเซลล์ขนดังกล่าวนั้น อาจจะเกิดขึ้น เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นก็ได้ ซึ่งจะพบในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยทั่วไปจะพบว่า ความสามารถหรือความชัดเจนของการรับฟังเสียงนั้นจะลดลง หูชั้นใน เยื่อ แก้วหู ประกอ บด้วย เซลล์ขน หูชั้น กลาง 8

9 9 NPRU

10 1.5 ความดันเสียงและระดับความดังเสียงที่พบในสิ่งแวดล้อม
10 22/5/2016

11 1.5 ความดันเสียงและระดับความดันเสียงที่พบในสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
11

12 1.5 ความดันเสียงและระดับความดันเสียงที่พบในสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
12

13 1.6 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเสียง ในโรงงานและสถานประกอบการ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ออกโดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ 18 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 13

14 1.6 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเสียง ในโรงงานและสถานประกอบการ (ต่อ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 6 และ 103 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 22/5/2016 14 NPRU

15 1.6 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเสียง ในโรงงานและสถานประกอบการ (ต่อ)
ระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยหลักเกณฑ์การประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประเภทการจัดให้มีการแสดงดนตรีเตนรำ รำวง รองเง็ง ดิสโก้เทค คาราโอเกะ หรือการแสดงอื่นๆ ในทํานองเดียวกัน พ.ศ ออกโดยอาศัยอำนาจประกอบข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ ขอ 7 ขอ 8 ขอ 9 และขอ 17 ระดับเสียงภายในสถานประกอบการตลอดระยะเวลาการทำการ ตองมีค่าเฉลี่ยของระดับเสียงไมเกิน 90 เดซิเบลเอ มีค่าสูงสุด ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ไมเกิน 110 เดซิเบลเอ และระดับเสียงที่ออกนอกอาคารสถานประกอบการต้องไมกอเหตุรำคาญ รบกวนประชาชนที่อยู่อาศัยใกล้เคียง อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 15

16 1.7 อันตรายของเสียงต่อผู้ประกอบอาชีพ
16 ระยะเวลาที่ได้รับเสี่ยงต่อวัน ความไวต่อเสียงของแต่ละคน อายุ ความเข้มของเสียง ระยะเวลาที่สัมผัสเสียง ผลร่วมของการสูญเสียการได้ยินกับโรคหู ชนิดของเสียง สภาพแวดล้อมของเหล่งเสียง ระยะทางจากหูถึงแหล่งเสียง 1. เสียงทำให้เกิดการ สูญเสียการได้ยิน การสูญเสียการได้ยิน แบบชั่วคราว (temporary hearing loss) การสูญเสียการได้ยิน แบบถาวร (permanent hearing loss) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

17 1.7 อันตรายของเสียงต่อผู้ประกอบอาชีพ (ต่อ)
17 1.1 การสูญเสียการได้ยิน แบบชั่วคราว (temporary hearing loss) ได้รับเสียงที่ดังสม่ำเสมอ และต่อเนื่องที่มีความ เข้มสูงมาก (100 dB(A) หรือสูงกว่า) ความถี่ของเสียง ที่พบว่าก่อให้เกิดการสูญเสียการ ได้ยินเพียงชั่วคราวเป็นส่วนใหญ่ คือ ที่ความถี่ 4,000 Hz และ 6,000 Hz ปกติการสูญเสียการได้ยินนี้ จะเกิดขึ้นภายในช่วง 2 ชั่วโมงแรกของการทำงาน และพบว่าการได้ยินของหูจะกลับคืนสู่สภาพปกติ ได้ ภายใน 1 หรือ 2 ชั่วโมง หรืออาจจะเป็นวัน หลังจากได้ออกจากบริเวณที่ทำงานที่มีเสียงดัง แล้ว อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

18 1.7 อันตรายของเสียงต่อผู้ประกอบอาชีพ (ต่อ)
18 1.2 การสูญเสียการได้ยิน แบบถาวร (permanent hearing loss) จะเกิดขึ้นเมื่อหูได้รับเสียงที่มีความเข้มสูงมากเป็น ประจำเป็นระยะเวลานานหลายปี การสูญเสียการ ได้ยินแบบถาวรจะไม่มีโอกาสคืนสู่สภาพการได้ยิน ปกติได้ และไม่มีทางรักษาให้หายได้เลย ช่วงความถี่ของเสียงที่ทำให้เกิดการสูญเสียการได้ ยินแบบถาวรอยู่ระหว่าง 3,000 Hz และส่วนใหญ่ จะพบที่ความถี่ 4,000 Hz ในระยะเริ่มต้น พนักงานอาจจะมีความรู้สึกมีเสียง ดังในหู หูอื้อ หรือไม่ได้ยินเสียงไปชั่วระยะหนึ่ง หลังจากได้ออกจากบริเวณงานที่มีเสียงดังแล้ว สำหรับการสูญเสียการได้ยินนี้ จะเกิดขึ้นทีละ น้อยๆ จนพนักงานแทบจะไม่มีความรู้สึกว่ามีอะไร เกิดขึ้นเลยทำให้ไม่สนใจ 22/5/2016

19 1.7 อันตรายของเสียงต่อผู้ประกอบอาชีพ (ต่อ)
19 2. เสียงทำให้เกิดการรบกวน การพูด และกลบ เสียงสัญญาณต่าง ๆ เสียงที่มีความเข้มไม่สูงพอที่จะทำให้เกิดการสูญเสีย การได้ยิน สามารถทำให้การสนทนาเป็นไปด้วยความ ยากลำบาก และกลบเสียงสัญญาณต่างๆ ได้ เช่น เสียงสัญญาณ ไฟไหม้ เสียงเตือนภัยหรือเสียงตะโกนเตือนภัยของ เพื่อนร่วมงาน เป็นต้น อาจจะทำให้คู่สนทนาหรือผู้รับข่าวสารได้รับข้อมูลที่ ไม่ชัดเจน หรือไม่ถูกต้อง ซึ่งอาจจะเป็นผลทำ ให้การทำงานผิดพลาด หรือประสิทธิภาพของงานที่ ทำนั้นลดลงไปได้ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

20 1.7 อันตรายของเสียงต่อผู้ประกอบอาชีพ (ต่อ)
20 3. เสียงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้าน ร่างกาย และจิตใจ เสียงสามารถทำให้เกิดการเสียสมดุลของร่างกาย และทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ได้ เสียงที่ดังขึ้นทันทีทันใด ก็จะทำให้คนที่อยู่ในบริเวณ นั้น เกิดปฏิกิริยาตกใจที่ร่างกายไม่สามารถควบคุม ได้ นอกจากนี้ยังเชื่อว่าเสียงอาจจะเป็นสาเหตุทำให้เกิด เส้นเลือดตีบ ความดันโลหิตสูง ม่านตาขยายกว้าง และกล้ามเนื้อเกิดการเกร็งตัว ทำให้ขาดสมาธิในการทำงาน เกิดความรำคาญ เบื่อ หน่าย เบื่องาน มีผลต่อสภาพจิตใจ อาจกลายมาเป็น โรคทางกายได้ นอกจากนี้ยังเชื่อว่าเสียงอาจจะเป็นสาเหตุทำให้เกิดเส้นเลือดตีบ ความดันโลหิตสูง ม่านตาขยายกว้างและกล้ามเนื้อเกิดการเกร็งตัว ปกติแล้วปฏิกิริยาเหล่านี้จะกลับคืนสู่สภาพปกติอย่างรวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าการเกิดการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ เกิดขึ้นซ้ำซากตามลักษณะของเสียง และเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ๆ ก็อาจจะก่อให้เกิดอันตรายขึ้นได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบุคคลที่ไวต่อเสียงมาก ๆ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 20

21 1.8 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับเสียง
21 1. เครื่องวัดความดังของเสียง (Sound Level Meter) เป็นเครื่องมือในการวัดระดับเสียง ในที่ทำงาน สามารถวัดระดับเสียง ได้ตั้งแต่ 40 – 140 เดซิเบล เครื่องวัดเสียงที่สามารถวัดระดับ เสียงได้ 3 ข่ายถ่วง น้ำหนัก (Weighting Networks) คือ A ,B และ C ข่ายที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง คือ ข่าย A เพราะเป็นข่ายตอบสนองต่อเสียง คล้ายคลึงกับหูคนมากที่สุด หน่วย วัดของเสียงที่วัดด้วยข่าย A คือ เดซิ เบลเอ (dBA) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

22 1.8 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับเสียง (ต่อ)
22 2. เครื่องประเมินปริมาณเสียง (Audio Dosimeter) เป็นเครื่องมือที่ออกแบบให้สามารถบันทึก ระดับเสียงทั้งหมดที่พนักงานได้รับ และ คำนวณค่าเฉลี่ยของระดับความดังตลอด การทำงานของเครื่อง นิยมใช้ในการตรวจวัดเสียงที่ คนงานมีการย้ายงานไป ตำแหน่งระดับเสียงที่มีความ แตกต่างกันมาก หรือมีการ ทำงานในหลายตำแหน่ง อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

23 1.8 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับเสียง (ต่อ)
23 3. เครื่องแยกความถี่ของเสียง (Octave Band Analyzer) เครื่องวิเคราะห์ความถี่เสียง สามารถ วิเคราะห์ความดังเสียงในแต่ละความถี่ได้ (เครื่องมือวัดระดับเสียงทั่วไป ไม่สามารถทำ ได้) ผลการตรวจวัดไปใช้ประโยชน์ในการวาง แผนการควบคุมเสียง (Noise Control) เช่น การเลือกใช้วัสดุดูดซับเสียงหรือการปิดกั้น ทางผ่านของเสียง และการเลือกปลั๊กอุดหู หรือที่ครอบหูที่เหมาะสมได้ เป็นต้น อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

24 1.8 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับเสียง (ต่อ)
24 4. เครื่องวัดเสียงกระทบหรือกระแทก ( Impulse or Impact Noise Meter)  เสียงกระทบหรือกระแทกเป็นเสียงที่เกิดขึ้นใน ระยะเวลาสั้นๆ แล้วหายไปเหมือนกับเสียงปืน เช่น เสียงตอกเสาเข็ม เครื่องวัดระดับเสียง โดยทั่วไป อาจมีความไวไม่เพียงพอในการ ตอบสนองต่อเสียงกระแทก จึงควรใช้เครื่องวัด เสียงกระทบหรือกระแทกโดยเฉพาะ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

25 1.8 เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเกี่ยวกับเสียง (ต่อ)
25 5. เครื่องวัดระดับการได้ยินของหู (Audiometer with Audio metric Booth)  เป็นเครื่องตรวจวัด ความสามารถในการได้ยินของ หูทั้ง 2 ข้างด้วยเครื่องวัด สมรรถภาพการได้ยิน (Audiometer) เพื่อหาระดับ เริ่มได้ยิน (Hearing threshold) ารอ่านผลการตรวจการได้ยินเพื่อการเฝ้าระวัง 1. ระดับการได้ยินปกติ หมายถึง ระดับเริ่มได้ยินเสียงของหู (Hearing threshold) เมื่อทำการวัดการได้ยินทางอากาศด้วยเสียง บริสุทธิ์ที่ความถี่ Hz มีค่าไม่เกิน 25 dB 2. ระดับการได้ยินที่ต้องเฝ้าระวัง หมายถึง ระดับเริ่มการได้ยินเสียงของหู (Hearing threshold) เมื่อทำการตรวจการได้ยิน ทางอากาศด้วยเสียงบริสุทธิ์ที่ความถี่ 500 — 6000 Hz แล้วมีการได้ยินระดับเสียงมากกว่า 25 dB ในความถี่ใดความถี่ หนึ่งที่ 500 — 6000 Hz 3. ระดับการได้ยินที่ผิดปกติสำหรับ NIHL หมายถึง ระดับการได้ยินของลูกจ้างที่มีค่าเฉลี่ยระดับการได้ยินที่ และ 3000 Hz มากกว่า 25 dB หรือ มีค่าเฉลี่ยระดับการได้ยินที่ 4000 และ 6000 Hz มากกว่าหรือเท่ากับ 45 dB การตรวจการได้ยินในสถานประกอบการ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 25

26 1.9 หลักการป้องกันอันตรายจากเสียง
26 โรงงาน/สถานประกอบการที่มีปัญหาเรื่อง เสียงดัง ควร มีโครงการป้องกันการสูญเสียการได้ยิน โดยมี รายละเอียดดังนี้ การตรวจวัดวิเคราะห์ระดับความดังของเสียง แยกความถี่และความดังของเสียงในสถาน ประกอบการว่ามีมากน้อยเพียงใด กำหนดมาตรฐานที่จะควบคุมไม่ให้เกิดการ สูญเสียการได้ยินของคนงาน หาวิธีลดเสียงจากแหล่งกำเนิด วิธีควบคุมเสียงที่ เกิดและผ่านมาสู่คน กำหนดระยะเวลาการสัมผัสเสียง อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

27 1.9 หลักการป้องกันอันตรายจากเสียง
27 โรงงาน/สถานประกอบการที่มีปัญหาเรื่อง เสียงดัง ควร มีโครงการป้องกันการสูญเสียการได้ยิน โดยมี รายละเอียดดังนี้ การวัดระดับในการได้ยินของคนงาน (Audiometry) ในแผนกที่มีเสียงดัง ใช้อุปกรณ์ PPE การปรับเช็คเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ เช่น เครื่องวัดเสียง การบันทึกรายงานผล เพื่อเป็นข้อมูลในการ วิเคราะห์ อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016

28 1.10 หลักการควบคุมอันตรายจากเสียง
1. แยกคนงานออกจากบริเวณที่เป็นต้น กำเนิด เช่น ลดจำนวนคนที่ทำงานกับเครื่องจักร สำรวจหาระดับเสียงที่มากเกินไป แล้วกัน ไม่ให้คนงานเข้าไปบริเวณนั้นนานเกินไป แหล่งกำเนิด (Sources) 2. ทางผ่าน (Path) 2. ลดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร คือ ติดตั้งเครื่องจักรที่ไม่สั่นสะเทือนมาก ติดตั้งเครื่องจักรบนฐานที่แข็งแรง ใช้ วัสดุยืดหยุ่น เช่น สปริงหรือแผ่นยางรอง กันการกระเทือน 3. ผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 28

29 1.10 หลักการควบคุมอันตรายจากเสียง (ต่อ)
3. ใช้วัสดุดูดเสียง ที่มาจากทิศทางต่างๆ ป้องกันไม่ให้เสียงเกิดการสะท้อนกลับ ความดังเสียงทั้งหมด = ความดังโดยตรง + ความดังจากการสะท้อน แหล่งกำเนิด (Sources) 2. ทางผ่าน (Path) 4. หาเครื่องจักรที่มีเสียงดังน้อยมาทดแทน ซ่อมแซมเครื่องจักรที่ชำรุด/เก่าขาดการบำรุงรักษา หยอดน้ำมันหล่อลื่นลดการเสียดสี ขันนอต หรือสกรูส่วนที่หลวมให้แน่น หรืออาจทากล่องครอบแหล่งเสียง 3. ผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) อาชีวอนามัย <อ.ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน : สาขาวิชาอาชีอนามัยและความปลอดภัย> 22/5/2016 29

30 1.10 หลักการควบคุมอันตรายจากเสียง (ต่อ)
5. หากระบวนการผลิต/วิธีการทำงาน ใหม่มาแทน เช่น การทุบโลหะเสียงดังมาก ใช้วิธีบีบอัด แทน ขัดผิวโลหะอาจใช้สารเคมีทำความ สะอาดแทน แหล่งกำเนิด (Sources) 2. ทางผ่าน (Path) 6. ลดระยะเวลาในการสัมผัสกับเสียง โดย กำหนดคนเข้าไปทำงานในที่มีเสียงดังมากไม่เกินระยะเวลาที่กำหนด เช่น ดังมากกว่า 95 dB ทำไม่เกินวันละ 4 ชม. ดัง 100 dB ไม่เกิน 2 ชม. ดังเกินกว่า 115 dB ไม่ควรให้คนเข้าไป 3. ผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) 22/5/2016 30

31 1.10 หลักการควบคุมอันตรายจากเสียง (ต่อ)
แหล่งกำเนิด (Sources) ที่อุดหู (Earplug) ที่ครอบหู (Earmuff) 2. ทางผ่าน (Path) 7. ใช้เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เช่น ที่อุดหู (Ear plug) ที่ครอบหู (Ear muff) ต้องศึกษาลักษณะการใช้งาน เช่น ต้องการลดเสียงลงมาให้ต่ำกว่า มาตรฐานไม่เกิน dB ใช้ Ear plug 3. ผู้ปฏิบัติงาน (Receiver) 22/5/2016 31


ดาวน์โหลด ppt อันตรายจากการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับเสียงดัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google