การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ CLMV โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ วันที่ 2 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติขอนแก่น (KICE) ประธานกรรมการบริษัทในเครือ วี-เซิร์ฟ กรุ๊ป และรองประธานสภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติ www.tanitsorat.com
การค้า-การลงทุน ภายใต้บริบทภูมิภาค...โอกาสของผู้มีศักยภาพ มูลค่าการส่งออก-นำเข้าข้ามแดน 631,053.58 ล้านบาท ประเทศ CLMV ปี 2562 เศรษฐกิจขยายตัว 6.5-7% การขนส่งเชื่อมโยงทางถนนประเทศ CLMV เป็นจุดแข็งของไทย ที่ตั้งประเทศอยู่กลางประเทศ CLMV เป็น Location Hub ของภูมิภาค Logistics Regional Hub : มีโครงสร้าง พื้นฐานโลจิสติกส์เชื่อมโยงประเทศเพื่อน บ้าน Economic Power เศรษฐกิจของไทยมี ความเข้มแข็ง อุตสาหกรรมและ ผู้ประกอบการไทยมีศักยภาพด้านการ แข่งขันที่เหนือกว่า Power & Wealthไทยมีความได้เปรียบเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจและการเมือง www.tanitsorat.com
ลำดับการเข้าไปลงทุนของไทย ส่งออกทางถนนข้ามแดนเพิ่ม การค้า-การลงทุนประเทศ CLMV เป็นจุดแข็งของไทย ส่งออกทางถนน(ข้ามแดน)สัดส่วนร้อยละ 44.1 และเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.17 ของส่งออกรวมของประเทศ ข้อมูลปี 2561 ลำดับการเข้าไปลงทุนของไทย ประเทศ ขนาดเศรษฐกิจ ล้าน/เหรียญสหรัฐ GDPเศรษฐกิจขยายตัว % ประชากร (ล้านคน) อัตราว่างงาน % ส่งออกรวม (ล้านบาท) ปี 2561 ส่งออกทางเรือ/อากาศ (ล้านบาท) ส่งออก ทางถนนข้ามแดน (ล้านบาท) สัดส่วน จากทั้งหมด ส่งออกทางถนนข้ามแดนเพิ่ม 3 กัมพูชา 17,700 7.0% 15.79 1.1% 244,666 121,644 123,022.29 50.29% 20.93% 2 สปป.ลาว 12,500 6.8% 6.77 -None- 132,105 3,239 128,866.56 97.55% -1.83% 4 เมียนมาร์ 65,800 53.897 4.0% 147,880 37,050 105,212.16 71.14% -3.45% 1 เวียดนาม 204,620 6.6.-7.0% 93.448 4.41% 416,063 28,250 57,671.59 13.86% -7.25% 940,714 414,772.60 (ร้อยละ 44.1) www.tanitsorat.com
การลงทุนในประเทศ CLMV ต้องเริ่มต้นอย่างไร 1. วิสัยทัศน์ ด้วยการทบทวนขีดความสามารถในการแข่งขันในระยะ 5-10 ปี 2. ประเมินโอกาสหรือภัยคุกคาม คู่แข่งในอุตสาหกรรมเดียวกันต่างมีการย้ายการผลิต ต้องประเมินให้ออกว่าเป็นโอกาสหรือเป็นหายนะของธุรกิจ 3. วิเคราะห์จุดแข็ง เช่น การเคลื่อนย้าย-เทคโนโลยี-ผลิตภัณฑ์หลัก (Product Champion) ที่จะนำร่องเป็นจุดแข็งหากย้ายฐานการผลิต 4. ความพร้อมของธุรกิจ ทั้งด้านทรัพยากรมนุษย์, การบริหารจัดการ ขีดความสามารถของผู้บริหาร โดยเฉพาะทุนเกี่ยวข้องกับสภาพคล่องระยะอย่างน้อย 2-3 ปี 5. เลือกประเทศและพื้นที่ซึ่งจะลงทุน โดยให้สอดคล้องกับลักษณะธุรกิจ-อุตสาหกรรม เช่น ต้นทุนการผลิต-ค่าจ้าง, กฎหมายการลงทุน, สิทธิประโยชน์, ความนิ่งด้านการเมือง, โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ 6. เลือกหุ้นส่วนหรือตัวแทนให้ถูก ความล้มเหลวของการลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะ CLMV เกี่ยวข้องกับการหาหุ้นส่วนต้องหามืออาชีพเข้าธุรกิจหรือมีความสัมพันธ์ที่ดีกับเจ้าหน้าที่รัฐ มิฉะนั้นจะเป็นหายนะและความล้มเหลว 7. ประเมินความเสี่ยง ต้องประเมินทุกด้านทั้งด้านต้นทุน กฎหมาย ภาษี ทั้งระดับประเทศและระดับแขวง การจัดหาแรงงาน ปัญหาแรงงาน ปัญหากฎหมายแรงงานต่างด้าว ต้นทุนแฝงต่างๆ ด้านคอรัปชั่นในรูปแบบต่างๆ การเก็บหนี้ รูปแบบการค้าโดยเฉพาะระยะเวลาคืนทุน www.tanitsorat.com
ข้อพึ่งรู้ของ SME โอกาสการค้า-การลงทุน ด้านโลจิสติกส์ ในประเทศ CLMV ศักยภาพของธุรกิจ : ศักยภาพในการให้บริการตามด่านชายแดน CLMV ต้องใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคลและเข้าใจพื้นที่เป็นสิ่งจำเป็นในลำดับต้นๆ จุดแข็งของธุรกิจที่มีเป็นสาระสำคัญ เช่น ด้านชิปปิ้ง ขนส่งระหว่างจังหวัด ด้านคลังสินค้าหรือฟรีโซน ผู้ประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ (LAND-SEA-AIR) ความสามารถในเชิงการตลาด สามารถรับงานจาก Origin หรือ Outsource ระดับใดทั้งด้าน Inbound / Outbound ขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งด้านราคา ต้นทุน ความน่าเชื่อถือ การบริหารงาน ตั้งแต่ต้นทาง-ปลายทาง (ประเทศ CLMV) และการบริหารความเสี่ยงรวมถึงการรับผิดชอบทางด้านกฎหมายและความเสียหายของสินค้า www.tanitsorat.com
ข้อพึ่งรู้ของ SME โอกาสการค้า-การลงทุน ด้านโลจิสติกส์ ในประเทศ CLMV (ต่อ 2.) ระดับศักยภาพของธุรกิจในการให้บริการโลจิสติกส์ข้ามแดนประเทศ ขีดความสามารถในการรับงานระดับพื้นที่ (Border Local Service) ผู้ให้บริการรับช่วงงานในแต่ละช่วงของการซอยแบ่งงาน(Outsource & Tier Service) ผู้ให้บริการระดับรับงานในประเทศ ซึ่งยังต้องซับคอนแทรค งานให้กับผู้ประกอบการทั้งในประเทศและ CLMV ผู้ให้บริการที่มีขีดความสามารถลงทุน (TDI) ในประเทศเพื่อนบ้าน สามารถรับงานในลักษณะ Origin to Origin กับประเทศต่างๆรวมถึง CLMV www.tanitsorat.com
ข้อพึ่งรู้ของ SME โอกาสการค้า-การลงทุน ด้านโลจิสติกส์ ในประเทศ CLMV (ต่อ 2.) เกี่ยวข้องกับศักยภาพของธุรกิจและขีดความสามารถในการลงทุนข้ามประเทศซึ่งอาเซียนสามารถถือหุ้น ร้อยละ 70 จุดแข็งที่มีและสามารถถ่ายโอนข้ามชาติ เช่น บุคลากร ทักษะ เทคโนโลยี-ระบบการจัดการที่สามารถถ่ายโอนข้ามชาติ โดยเฉพาะเครือข่ายความสัมพันธ์ส่วนบุคคลในรูปแบบต่างๆที่จะเอื้อต่อธุรกิจ พันธมิตรธุรกิจของประเทศที่จะเข้าไปลงทุน เป็นเงื่อนไขสำคัญของกุญแจแห่งความสำเร็จหรือล้มเหลวของธุรกิจ การมีความรู้ของประเทศที่จะไปลงทุนอย่างแท้จริง เช่น กฎหมาย ภาษีตรงและภาษีแฝง แรงงานและค่าจ้าง ความเสี่ยงในด้านต่างๆ วัฒนธรรมและประเพณีของคนท้องถิ่นรวมถึงแบบธุรกิจที่ต่างไปจากของไทย ทุนที่ต้องใช้สามารถรองรับการขาดทุนได้นานเพียงใด ลงทุนแล้วขาดทุนได้โดยไม่มีผลกระทบต่อธุรกิจหลัก หากรับไม่ได้ไม่ควรลงทุน เป็นการลงทุนระยะยาวบางครั้งกำไรอาจไม่ใช่ในรูปแบบของตัวเงินแต่เป็นการเพิ่มศักยภาพของธุรกิจในการเอื้อต่อขีดความสามารถในการแข่งขันธุรกิจในประเทศ การบริหารความแตกต่างและความเสี่ยง การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านสภาวะแวดล้อมธุรกิจต่างออกไปเกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงในมิติต่างๆ www.tanitsorat.com
เส้นทางสายไหมรถไฟไทย-จีน The Pan-Asia Railway 4,500 KM www.tanitsorat.com
ข้อมูลประเทศกัมพูชา (ปี 2561) ข้อมูลประเทศกัมพูชา (ปี 2561) ชายแดนยาว 798 กม. จังหวัดติดชายแดน 7 จังหวัด เส้นทางด่านชายแดนหลักอรัญประเทศ-ปอยเปต-พนมเปญ ด่านถาวร 6 แห่ง จุดผ่อนปรน 10 แห่ง การค้าผ่านชายแดนมูลค่า 145,799 ล้านบาท อัตราการขยายตัว 16.4 % (ปี 2561) การส่งออกไทย-กัมพูชา มูลค่า 244,666 เป็นการส่งออกข้ามแดนสัดส่วนร้อยละ 50.29 มูลค่า 123,022.29 ขยายตัว 20.93% เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 7.0 มีความมั่นคงด้านการเมือง นายกรัฐมนตรี สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (พ.ศ. 2541–ปัจจุบัน) ค่าจ้างขั้นต่ำ 116-150 บาท/วัน หรือ 4.07-5.23 แสนเรียว/เดือน พื้นที่ลงทุน 80% อยู่ที่พนมเปญรองลงไปสีหนุวิลล์,บัดตัมบอง, เสียบเรียบ นักลงทุนหลัก เกาหลี สิงค์โปร์ มาเลเซีย ไทย แหล่งการลงทุนด้านอุตสาหกรรมเบา ด้านการท่องเที่ยว สินค้าอุปโภคบริโภค www.tanitsorat.com
ข้อมูล สปป.ลาว (ปี 2561) www.tanitsorat.com ข้อมูล สปป.ลาว (ปี 2561) ชายแดนยาว 1,750 กม. เส้นทางหลักชายแดน หนองคาย-ท่านาแร้ง-เวียงจันท์ เส้นทางมุกดาหาร-สะหวันเขต-ด่งฮา(R9) เส้นทางเชียงของ-บ่อแก้ว-บ่อเต็น (R3A) ด่านถาวร 19 แห่ง จุดผ่อนปรน 29 แห่ง การค้าชายแดนมูลค่า 213,618.58 ล้านบาท (ปี 2561) ขยายตัวร้อยละ 3.17 ส่งออกมูลค่าไทย-ลาว 128,866.56 เป็นการส่งออกข้ามแดนร้อยละ 97.55 เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6.8 ประธานประเทศคนใหม่ นายบุนยัง วอละจิด (เมษา 59) พื้นที่ลงทุนร้อยละ 80 อยู่ในนครเวียงจันทร์ (ย่านไชยเชษฐา, ย่านจันทะบุรี) และแขวงต่างๆ เช่น วังเวียง , สะหวันนะเขต , คำม่วน ,จำปาสัก ค่าจ้างขั้นต่ำ 120-130 บาท/วัน หรือ 9.5 แสนกีบ/เดือน เป็นแหล่งพลังงานหลักของไทย อนาคตการลงทุนด้านการค้า-บริการและ Co-Tourism (ธุรกิจอยู่ภายใต้อาณาเขตของประเทศจีน) www.tanitsorat.com
ข้อมูลประเทศเมียนมา (ปี 2561) ข้อมูลประเทศเมียนมา (ปี 2561) ชายแดนยาว 2,202 กม. จังหวัดติดชายแดน 10 จังหวัด ด่านชายแดนหลัก แม่สอด-เมียวดี-ย่างกุ้ง/เชียงแสน-ท่าขี้เหล็ก- เนปิดอว์ ด่านถาวร 5 แห่ง/จุดผ่อนปรน 14 แห่ง การค้าข้ามแดนมูลค่า 193,236.56 ล้านบาท (ปี 2561) การส่งออกไทย-เมียนมา ปี 2561 มูลค่า 147,880 ล้านบาท โดยเป็นการส่งออกข้ามชายแดนมูลค่า 105,212 ล้าน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 71.14 ของการส่งออกทั้งหมด ขยายตัว -3.45% ค่าจ้างขั้นต่ำ 165-180 บาท/วัน หรือ 2.10 แสนจ๊าด/เดือน ภาษีการค้าร้อยละ 5.0 , ภาษี ณ หักที่จ่ายร้อยละ 2.0 อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 2.32 บาท / 100 จ๊าด (ปี2561) พื้นที่ลงทุนนครย่านกุ้งร้อยละ 44 เช่น เขตทิลาวา , ไลตาย่า , ดราก้อน , เชปิตา ที่เหลือพื้นที่มณฑลต่างๆ เช่น , มัณฑะเลย์ , พะโค , ลาโช , เมียวดี , มะริด เศรษฐกิจขยายตัว 7.5% เงินเฟ้อทั่วไป 11.76% การเมืองมั่นคง ประธานาธิบดี วี่น-มหยิ่น (28 มีนาคม 2561) นางออนซาน ซูจี เป็นที่ปรึกษาแห่งรัฐ www.tanitsorat.com
ข้อมูลประเทศเวียดนาม (ปี 2561) ข้อมูลประเทศเวียดนาม (ปี 2561) เส้นการค้าผ่านแดน ผ่านทางเส้นทางหมายเลข R9 (ไทย-ลาว) และเส้นทางหมายเลข R5 (ไทย-กัมพูชา) และ R10 (คลองใหญ่ ไทย-กัมพูชา) – ฮาเตียน – โฮจิมินห์ การค้าผ่านแดนมูลค่า 78,310.31 ล้านบาท (ปี 2561) ขยายตัว -1.63 การส่งออกไทย-เวียดนาม ปี 2561 มูลค่า 57,671.59 ล้านบาท การส่งออกผ่านชายแดนเป็นสัดส่วนร้อยละ 13.86 ขยายตัว -7.25 เศรษฐกิจขยายตัวประมาณ 6.0 - 6.2 การเมืองมั่นคงภายใต้ระบอบสังคมนิยม ประธานาธิบดี เหรียน ฟู้ จ่อง นายกรัฐมนตรี เหงียน ซวน ฟุก (ตุลาคม 61) พื้นที่ลงทุนนครฮานอย , ไฮฟอง , นครโฮจิมินทร์ , ลาวบ๋าว , ฮาคิงห์ , ดาพัง , เกิ่นเทอ , ฮาเตียง , ดาลัด ค่าจ้างขั้นต่ำ 175 บาท - 200 บาท/วัน หรือ 3.5 ล้านด่อง / เดือน ได้เข้าเป็นสมาชิก TTP ซึ่งจะส่งผลด้านศักยภาพและการลงทุน (ปัจจุบัน ปธน.ทรัมป์ ประกาศยกเลิก) www.tanitsorat.com
โอกาสของการลงทุนประเทศ CLMV เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงและความแตกต่าง กฎหมายไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงบ่อย การบริหารความเสี่ยงและความแตกต่าง การบริหารจัดการคน ปัญหาแรงงานไร้ทักษะ ระบบภาษีซับซ้อนไม่มีมาตรฐาน ต้นทุนแฝงจากคอรัปชั่นเป็นเรื่องปกติ ต้นทุนแรงงานอาจต่ำกว่าไทย แต่ต้นทุนด้านอื่นอาจสูงกว่าไทย ระบบธนาคารเอาแน่นอนไม่ได้ การเข้าใจพื้นที่และวัฒนธรรมท้องถิ่น ระบบการเมืองแตกต่างจากไทย ระบบประกันภัยขาดมาตรฐาน ระบบศาลและการบังคับ www.tanitsorat.com
หากจะคัดลอกบทความนี้หรือนำบางส่วนไปใช้ในงานต่างๆ โปรดอ้างอิงชื่อผู้เขียนบทความ และสามารถ Download PowerPoint ได้ที่ www.tanitsorat.com พร้อมทั้งสามารถติดตามรายงาน-บทความอื่นๆ ได้ที่ Facebook/Tanit.Sorat รวมทั้งบทสัมภาษณ์ต่างๆ ได้ที่ Youtube.com โดยใช้คีย์เวิร์ด ดร.ธนิต โสรัตน์ www.tanitsorat.com