นโยบาย รมว สธ ข้อที่ 3 “เร่งรัดมาตรการสุขภาพดี โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วยตายและผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง”
เป้าหมาย 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง 5 ด้าน การเกิดโรค ภาวะแทรกซ้อน พิการ ตาย ภาวะค่าใช้จ่าย 5 วิถีชีวิตพอเพียง 3 อ
ยุทธศาสตร์ นโยบายสาธารณะสร้างสุข ขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสาธารณะ พัฒนาศักยภาพชุมชน พัฒนาระบบการเฝ้าระวังและจัดการโรค สร้างความเข้มแข็งระบบการสนับสนุนยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แผน 1-3 ปี บูรณาการความคิด สร้างความเชื่อมั่น และสร้างการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนภาคีเครือข่าย แผน 5 ปี ปฏิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานมั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ แผน 10 ปี สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้างและระบบป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน
มาตรการหลัก นโยบายสาธารณะสร้างสุข ลดหวานมันเค็ม เติมเต็มออกกำลังกาย เพิ่มพื้นที่ปลอดสุรา แหล่งยาสูบ ขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสาธารณะ เช่น การรณรงค์ คัดกรองสุขภาพ ตามวาระตลอดปี ต่างๆ พัฒนาศักยภาพชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตำบลจัดการสุขภาพ พัฒนาระบบการเฝ้าระวังและจัดการโรค เช่น นักสุขภาพครอบครัว สร้างความเข้มแข็งระบบการสนับสนุนยุทธศาสตร์ เพิ่มคุณภาพสถานบริการ ทุกระดับ และเครือข่ายสุขภาพ
อสม.ยุคใหม่ เน้นการพัฒนามากกว่าบริการ
อสม. เพื่อสังคม เน้นการพัฒนา มากกว่าบริการ
ปรับพฤติกรรมสุขภาพ ความคาดหวัง ดูแลสิ่งแวดล้อม สร้างนวัตกรรมทางสุขภาพ ออกมาตรการทางสังคม สนธิพลัง ชุมชนเป็นสุข
ปรับพฤติกรรมสุขภาพ สุขภาพดีวิถีไทย ความคาดหวัง : อสม ปรับพฤติกรรมสุขภาพ สุขภาพดีวิถีไทย ทำตนเป็นแบบอย่าง จิตอาสา สร้างพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน 3 อ. 2 ส งด-ลด บุหรี่/สุรา ล้างมือ – ใช้ผ้าปิดปาก หน้ากากอนามัย ลดอุบัติเหตุ เฝ้าระวังภัยพิบัติทุกรูปแบบ ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์ สุขภาพจิต สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม
ดูแลสิ่งแวดล้อม ความคาดหวัง รณรงค์ลดโลกร้อน ปลูกป่า-ต้นไม้ ไม่เผาป่า ลดขยะ ประหยัดพลังงาน ฯลฯ ป้องกัน/ควบคุมโรคติดต่อ ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่-หวัดนก ฉี่หนู ฯลฯ
ศักยภาพชุมชนด้านสุขภาพ 1 มีมาตรการทางสังคม นวตกรรมสุขภาพ 2 มีข้อตกลงเพื่อสุขภาพในชุมชน 3 มีแนวทางการทำงานที่สอดคล้องวิถีชีวิตชุมชน 4 มีขบวนการขับเคลื่อน 5 มีภูมิปัญญา-ปราชญ์ชาวบ้าน เช่น การใช้สมุนไพรทดแทนสารเคมี 6 มีต้นแบบเรียนรู้เรื่องสุขภาพในชุมชน พัฒนาหรือยกระดับเป็นหมู่บ้านสุขภาพดีวิถีไทย หรือ ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ
เน้นการพัฒนา มากกว่าบริการ
เป็นผู้ประสานงาน เชื่อมประสานกับบุคคล องค์กร และ อสม.เพื่อสังคม สามารถทำงานเป็นทีมกับ อสม. และ กลุ่มภาคีสุขภาพ ต่างๆในชุมชน มีจิตสำนึกสาธารณะ มีคุณธรรมและ จริยธรรม นักสื่อสารสุขภาพได้อย่างมีพลัง สามารถจัดการความรู้ที่เกิดขึ้นได้ เป็นผู้นำในการจัดกระบวนการประชุมอย่างสร้างสรรค์ได้ เช่น เป็นวิทยากรกระบวนการ และ อำนวยความสะดวกการประชุม เป็นผู้ประสานงาน เชื่อมประสานกับบุคคล องค์กร และ เครือข่าย และ สามารถเป็นผู้นำขับเคลื่อนประเด็นสุขภาพ
อสม นักจัดการสุขภาพชุมชน ร่วมประชุมหมู่บ้าน ติดตาม/นำเสนองานสุขภาพในชุมชน จัดการประชุม/พูดคุยงานสุขภาพกับเพื่อน อสม. และ ภาคีสุขภาพ สรุปประเด็นและมติเรื่องสุขภาพในการประชุม นำข้อตกลงจากที่ประชุมไปดำเนินงานอย่างสอดคล้องวิถีชุมชน จัดทำแผนสุขภาพชุมชน และประสานแผนกับเทศบาล/อบต. ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปงาน
อสม นักสื่อสารสุขภาพ ศึกษา รวบรวมข้อมูล ความรู้ ความจริงแล้วสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ผลิตสื่อ เอกสารความรู้ แผ่นพับ โปสเตอร์ สื่อพื้นบ้าน หรือ นิทรรศการ สื่อสารไปชุมชน ผ่านหอกระจายข่าว วิทยุชุมชน สามารถใช้เครื่องมือการสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ SMS หรือ อินเตอร์เน็ต
สร้างนวตกรรมสุขภาพ และ มาตรการสังคม สามารถค้นหานวตกรรมสุขภาพ ในชุมชน นำนวตกรรมสุขภาพมา ใช้ หรือร่วมกัน กำหนดมาตรการ ทางสังคม หรือให้ชุมชนได้ปฏิบัติ ร่วมกัน อสม สามารถทำงานเป็นทีม และ ร่วมงานกับกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ก) ต้องสร้างทีมงาน อ.สม. และ ทำงานเป็นทีม ร่วมกับกลุ่มต่างๆ ข) วิเคราะห์ว่างานที่จะทำมีกลุ่มองค์กรใดบ้างเกี่ยวข้อง ค) สร้างภาคีเครือข่ายการทำงาน ประสานพันธมิตร
สวัสดี