การเตรียมการ มาตรการชุมชน การเตรียมการ มาตรการชุมชน ณัฐกานต์ ไวยเนตร
พลังทางวิชาการ สร้างข้อมูล เชิงปริมาณที่ถูกต้องแม่นยำ เก็บรวมรวมองค์ความรู้จากการสอบสวนเพราะมันคือข้อมูลเชิงคุณภาพ เก็บความรู้และความเข้าใจเพิ่มจากงานวิจัย ศึกษาเพิ่มเติมจากงานวิชาการอื่นๆ
การสอบสวนที่ดีที่สุดในพื้นที่ คือ การสอบสวนทุกราย ที่ได้รายละเอียดครบ
จุดเสี่ยงอันตรายมีได้/แก้ไขปรับปรุงได้ จุดเสี่ยงอันตรายคืออะไร ตำแหน่งที่มีการเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง มีความสูญเสียจากอุบัติเหตุสูง
Who What When Why Where How จากงานสอบสวนท่านควรตอบคำถามอะไร? ณัฐกานต์ ไวยเนตร และคณะการสอบสวนอุบัติเหตุรายใหญ่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข Who เพศ วัย อาชีพ คนพื้นที่ รุนแรง เจ็บ ตาย Phase-Factor Matrix What ชน ถูกชน ล้มเอง ตก คว่ำ ไถล When เวลาไหน เดือนไหน มืด สว่าง ฝนตก สาเหตุ การชน คน รถ ถนน สิ่งแวดล้อม Why Where ที่ไหน ใน/นอกชุมชน ตรง โค้ง แยก How ลักษณะการชน ประสานงา ชนด้านข้าง เบียดกัน Haddon Matrix Modification Analysis รากของปัญหา ป้องกันการสัมผัสปัจจัยเสี่ยง Primordial Prevention
ข้อมูลนำเข้าให้ชุมชน/กรณียังไม่มีการสอบสวน สสจ.โรงพยาบาล สสอ. รพสต.ตกลงกัน ใครเตรียม (บาดเจ็บ เสียชีวิต) ประสานทีมตำรวจ ข้อมูลการจับปรับ การควบคุมพฤติกรรม ประสานขนส่ง ข้อมูล การจดทะเบียน รถ จักรยานยนต์ ประสานบริษัทกลาง ดูข้อมูล การยื่นต่อพรบ. และ การเครมประกัน ประสานแขวงทางหลวง เพื่อดูจุดเสี่ยง ประสาน ปภ. เรื่องการกำหนดนโยบาย ของผู้บริหารและเป้าหมายจังหวัด เชื่อมโยง แหล่งข้อมูล
ขั้นตอนการจัดการปัญหาในชุมชน ชวนให้ค้นหา ปัญหา ? กระทบ ? ชวนให้วิเคราะห์ ลดปัญหา? ลดผลกระทบ? ชวนให้จัดการ จัดการตรงไหนทำได้ก่อน จัดการตรงไหนคุ้มค่าสุด ชวน ประเมินผล ติดตาม เฝ้าระวัง ความคุ้มค่า ปรับกระบวนการ ยั่งยืน/คุ้มทุน
ขั้นตอนการจัดการกลุ่มเสี่ยง/ จุดเสี่ยง ค้นหา เพศ? วัย ? อาชีพ ? คนพื้นที่ ? รุนแรง ? เจ็บ ? ตาย ? วิเคราะห์ สาเหตุ การชน คน รถ ถนน สิ่งแวดล้อม ลักษณะการชน ประสานงา ชนด้านข้าง เบียดกัน หาความสัมพันธุ์ ชน ถูกชน ล้มเอง ตก คว่ำ ไถล เวลาไหน เดือนไหน มืด สว่าง ฝนตก ที่ไหน ใน/นอกชุมชน/ ตรง/ โค้ง/ แยก จัดการปัญหา ผู้รับผิดชอบในชุมชนเป็นใคร ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังต่อ คิดแผนและช่วงเวลาในการประเมิน
บทเรียน มุมมองการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาอุบัติเหตุ คน รถ ถนน การกระจายตัวของกลุ่มปัญหา เช่น อายุ พื้นที่ ประเภทพาหนะ เวลาเกิดเหตุ ข้อมูลอุบัติเหตุ มีได้หลายแหล่ง ให้ประโยชน์ที่แตกต่างตามจุดเด่นของหน่วยงาน คน รถ ถนน ควรนำมาวิเคราะห์ร่วมกัน ข้อมูลอุบัติเหตุ เกิดขึ้นได้ทุกระดับ การใช้ข้อมูลในระดับเล็กยิ่งทำให้เกิดการมีส่วนร่วมแก้ปัญหาได้มาก
แนวคิดและที่มามาตรการชุมชน (ด่านชุมชน) การพัฒนาทีมสอบสวน การสอบสวน การสังเคราะห์ความรู้ นำแนวคิดผลักดันสู่ชุทชน ชุมชนดำเนินงาน ติดตามผลสำเร็จและขยายผล
ทางเลือกในการเตรียมชุมชน/ทางการ ผู้บริหาร EOC= Emergency Operation Center DHS =District Health System การชงข้อมูลให้ผู้บริหาร สั่งการ ดำเนินการ ประเมิน ขยายผล
DHS แนวทางการดำเนินงานลดการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ภายใต้แนวคิด District Health System(พี่วิไล กระนวน ขอนแก่น) ข้อมูล ข้อมูลภาพรวมระบบเฝ้าระวัง -ข้อมูลสอบสวนเชิงลึก เหตุการณ์สำคัญตามเกณฑ์ ระบุความสี่ยง/ปัญหา หมวก/เมา/เร็ว/เข็มขัด ฯลฯ ทางแยก/ทางร่วม/ทางตรง ฯลฯ อุปสรรคด้านการรักษาพยาบาล DHS สหสาขา/ชุมชน ประเมินผล อัตราตาย ลดลง อุบัติเหตุทางถนน การบาดเจ็บสมอง Multiple Injury สัดส่วนการสวมหมวกนิรภัย สัดส่วนการบาดเจ็บกับเมาสุรา จำนวนการสอบสวนเหตุการณ์ เลือกมาตรการแก้ปัญหา -บังคับใช้กฏหมาย -มาตรการชุมชน “ด่านชุมชน” -มาตรการองค์กร -สำรวจ/แก้ไขจุดเสี่ยง -พัฒนาบริการการรักษา EMS/Trauma กระบวนการทำงานด้านการป้องกันและแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน ที่มีประสิทธิภาพ จะเริ่มมาจากการใช้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ข้อมูลที่ได้จะมาจาก 2 แนวทาง คือ 1. ข้อมูลในระบบข้อมูลต่างๆ ซึ่งเป็นภาพรวม 2. ข้อมูลการสอบสวนเชิงลึก ซึ่งจะให้รายละเอียดในเหตุการณ์จำเพาะ โดยเฉพาะตามบริบทของพื้นที่เกิดเหตุต่างๆกัน จากนั้นจึงนำข้อมูล 2 ส่วนมาประกอบกัน ชี้ปัญหา วางแผนแก้ปัญหา และดำเนินการแก้ไขที่เหมาะสม และมีการติดตามและประเมินผลไปด้วย ภายใต้แนวคิดการทำงานในพื้นที่ระดับอำเภอหรือ district health system
ทางเลือกในการเตรียมชุมชน/ไม่เป็นทางการ ประเมินผล ลงมือทำ คิด/วิเคราะห์ ชุมชน EOC เฝ้าระวังสอบสวน ท้องถิ่น คืนข้อมูล แสวงหาภาคี ชุมชน ผู้นำไม่ทางการ กำหนด ผู้ได้รับผลกระทบ
กิจกรรมกลุ่มก่อนประชาคม วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา วิเคราะห์กลุ่มเสี่ยง ใคร?อายุ? วิเคราะจุดเสี่ยง แยก/ตรง/โค้ง แนวทางการแก้ปัญหา (แกนนำ/ความร่วมมือ?) วิธีการแก้ปัญหา/แผนการดำเนินงานต่อไป งบประมาณ? การติดตามประเมินผล
การชวนให้ชาวบ้านมองปัญหาจะเห็นปัญหาได้ตรงประเด็นกว่า
การให้ความรู้ การประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วม การรณรงค์ การให้ความรู้ในสถานศึกษาภายใต้โครงการส่งเสริมการขับขี่ปลอดภัยสร้างวินัยจราจร ( ในสถานศึกษา )ร่วมกับ ภาคีเครือข่าย
การประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วม การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมในรูปแบบต่าง ๆ
เตรียมความพร้อมเปิดด่านชุมชน คืนข้อมูลด้านอุบัติเหตุสู่ชุมชน ประชุมทำความเข้าใจกับชุมชน ชุมชนพร้อม/เห็นด้วย ลงมือปฏิบัติโดยไม่ต้องถามหางบประมาณ
วิเคราะห์ปัญหาอุบัติเหตุในชุมชน คน ภาพรวม เจาะลึกรายหมู่บ้าน ยานพาหนะ สภาพถนน ประชาคมหมู่บ้าน
คืนข้อมูลให้พื้นที่ อบต.ป่าซาง คม ชัด ลึก ต่อเนื่อง อบต.ดงมหาวัน เทศบาล ต.บ้านเหล่า อบต.ทุ่งก่อ
ประมวลภาพกิจกรรม ป่าซาง เวียงเชียงรุ้ง
ศรีดอนมูล เชียงแสน
ศรีดอนมูล เชียงแสน
อำเภอเทิง โครงสร้างด่าน รูปแบบ
บุคลากรประจำด่านชุมชนจิดอาสา ผู้ใหญ่บ้าน/กรรมการหมู่บ้าน สมาชิก อบต./สท อปพร. ชรบ. อสม. จิตอาสา
กิจกรรมในด่านชุมชน ไม่เน้นการจับกุม ให้คำแนะนำตักเตือนลูกหลาน ดูแลการสวมใส่หมวกกันน็อก ๑๐๐ % ดูแลคนขับรถเร็ว ดูแลคนเมาสุราขับรถ การบันทึกข้อมูล สถิติในชุมชน
ผลประเมินสำหรับด่านชุมชนเบื้องต้น สงกรานต์ 2558 รายการ จำนวน ร้อยละ สคร.5. 6,9,10 , 11, 12, 2 7 58.3 จังหวัด (ไม่ทุกอำเภอ) 10 11.8 อำเภอ (ไม่ทุกหมู่บ้าน) 22 2.02 ด่าน 206 สงกรานต์ 57 บาดเจ็บ 674 Admit 26 คน เสียชีวิต 5 จำนวนคนที่ปฏิบัติหน้าที่ในด่าน 904 จำนวนรถที่ผ่านด่านทั้งหมด 2,162,236 สงกรานต์58บาดเจ็บ 30 Admit 6 คน
ด่าน 206 ผลประเมินสำหรับด่านชุมชนเบื้องต้น ช่วงสงกรานต์ 2558 รายการ 2557 สคร. ที่ 1,5,6,8,9,10,11 จังหวัด 10 จังหวัด 172 อำเภอ 19 อำเภอ ด่าน 206 จำนวนคนที่ปฏิบัติหน้าที่ในด่าน 1,447 จำนวนรถที่ผ่านด่านทั้งหมด 4,632,133 ? สงกรานต์ บาดเจ็บ 56(บาดเจ็บ เล็กน้อย) รับไว้รักษา (6 ราย) 674 รับไว้รักษา (26 ราย) เสียชีวิต 5
ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุตั้งแต่วันที่ 9 – 15 เมษายน แสดงข้อมูลจากการบันทึกของด่านชุมชน ตั้งแต่วันที่ 9 – 15 เมษายน รายการ ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุตั้งแต่วันที่ 9 – 15 เมษายน 9 เม.ย. 10 เม.ย. 11 เม.ย. 12 เม.ย. 13 เม.ย. 14 เม.ย. 15 เม.ย. รถที่จักรยานยนต์ผ่านด่าน 380,147 390,886 371,354 497,597 329,240 229,190 256,955 รถยนต์ผ่านด่าน 255,832 278,604 258,200 329,297 237,399 185,178 216,213 จำนวนอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ มี 14 4 13 5 8 3 ในด่าน 2 - จักรยานยนต์อุบัติเหตุ 7 1 รถยนต์อุบัติเหตุ 9 บาดเจ็บ เสียชีวิต จำนวนในการตรวจสอบความเร็ว/แอลกอฮอล์/การสวมหมวกนิรภัย ขับเร็วร้อยละ 3.06 2.95 2.62 3.18 2.79 3.92 5.73 แอลกอฮอล์ร้อยละ 23.60 22.51 20.16 24.53 21.47 5.92 8.66 %ไม่สวมหมวก 40.10 40.27 40.26 40.78 42.50 26.82 40.60
หน้าที่ ส่งเสริมและชื่นชม
ขยายการรับรู้