.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ระบบการบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา IEM3105 Industrial Maintenance System สมศักดิ์ มีนคร Mobile: 089-8150933 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
อะไรคือการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University อะไรคือการบำรุงรักษา Inspection Test Service Repair Overhaul Rebuilt Modification Cannibalize การบำรุงรักษา (Maintenance) หมายถึง การดำรงไว้ ซึ่งสภาพเดิม ซึ่งก็คือสภาพการ รักษาไว้ให้คงอยู่เหมือนเดิมในระบบการผลิต .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำไมต้องบำรุงรักษา มีความเป็นอัตโนมัติสูง (Automation) มีความซับซ้อนใน การออกแบบ (Complicated design) มีความเร็วของการ ทำงานสูงขึ้น มีขนาดใหญ่ขึ้น / มีขนาดเล็กลงมาก .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ผลเสียจากการเสียหายของเครื่องจักร สูญเสียด้านวัสดุกำลังคน (Productivity) มีโอกาสผลิตของเสียสูง (Quality) ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น (Cost) ผลิตไม่ทันตามกำหนด (Delivery) ความปลอดภัย ( Safety ) ขวัญกำลังใจของพนักงาน ( Morale ) การรักษาสิ่งแวดล้อม (Environment) .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .: บทที่ 1 ความจำเป็นของการบำรุงรักษา แรงงานในประเทศส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ ขาดความรู้ ทักษะ ความสามารถที่จะใช้เครื่องจักรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่งผลให้ขาดการบำรุงรักษา ทำให้เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดความเสียหาย อายุการใช้งานก็สั้นไปด้วย การบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ให้คงสภาพดีอยู่ตลอดเวลา พนักงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับต้องช่วยกันบำรุงรักษา และใช้งานเครื่องจักรและอุปกรณ์อย่างถูกวิธี .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความล้มเหลวของการบำรุงรักษาแบบดั้งเดิม 1. การจัดองค์การในการบำรุงรักษา ในการบำรุงรักษาแบบดั้งเดิม 1.1 เป็นการจัดองค์การในการบำรุงรักษาที่ขึ้นอยู่กับฝ่ายซ่อมบำรุงเพียงฝ่ายเดียว 1.2 ฝ่ายซ่อมบำรุงไม่มีโอกาสได้ซ่อมครั้งใหญ่ เพราะไม่มีเวลาหยุดเครื่อง 1.3 ทำให้เวลาหยุดดังกล่าวเป็นเวลาที่ควบคุมได้ .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความล้มเหลวของการบำรุงรักษาแบบดั้งเดิม 2. เป้าหมายของฝ่ายต่างๆ ที่ไม่สอดคล้องกันในการบำรุงรักษา 2.1 ฝ่ายบริหาร 2.2 ฝ่ายวิจัยและพัฒนา 2.3 ฝ่ายผลิต 2.4 ฝ่ายซ่อมบำรุง 2.5 ฝ่ายจัดซื้อ 2.6 ผู้ใช้เครื่องจักร .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความล้มเหลวของการบำรุงรักษาแบบดั้งเดิม 3. การเก็บข้อมูลและการวัดผลการบำรุงรักษา 3.1 ไม่มีการเก็บข้อมูลต่างๆ ในการบำรุงรักษาไว้ 3.2 ไม่มีการวัดผลการบำรุงรักษา 3.3 ไม่มีสิ่งที่ช่วยบอกระดับของการปรับปรุง .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความล้มเหลวของการบำรุงรักษาแบบดั้งเดิม 4. การบำรุงรักษาตามแผน 4.1 ไม่มีการวางแผนการบำรุงรักษาอย่างเป็นระบบและไม่มีการบำรุงรักษาตามแผน ทำให้เครื่องจักรเสียอยู่เป็นประจำ 4.2 ไม่มีเวลาที่จะทำการป้องกันการเสียหายของเครื่องจักรปรับปรุงดัดแปลงเครื่องจักร หรือการเตรียมพร้อมหากเครื่องจักรเสียด้วยเทคนิคการพยากรณ์ .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำไมต้องทำการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม สาเหตุที่ต้องทำ TPM ที่เห็นได้ชัดที่สุดก็คือ การบำรุงรักษาแบบดั้งเดิมที่เราพบเห็นกันอยู่ไม่ประสบความสำเร็จ ซึ่งมีสาเหตุโดยรวมมาจากระบบในการบำรุงรักษาที่ไม่มีการวัดผลและการวางแผน และอีกสาเหตุหนึ่งก็คือ ทัศนคติของคนที่มีต่อการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำไมต้องทำการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม 1. เพื่อพัฒนาเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิผลสูงสุดของเครื่องจักรอุปกรณ์ (Equipment Effectiveness) ความไว้ใจได้ในตัวเครื่องจักร ( Reliability ) คุณภาพของชิ้นงาน ( Product Quality ) การเพิ่มผลผลิตของเครื่องจักร ( Machine Productivity ) การใช้เครื่องจักรให้ได้ตลอดอายุการใช้งาน ( Total Service Life ) .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำไมต้องทำการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม 2. เพื่อการพัฒนาคน ผู้ใช้เครื่องสามารถบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง ฝ่ายผลิตสามารถลดความสูญเสียที่เกิดจากเครื่องจักรได้ ฝ่ายซ่อมบำรุงสามารถบำรุงรักษาเครื่องจักรตามแผนได้ ฝ่ายออกแบบและพัฒนา มีการออกแบบ วิจัย และพัฒนาสิ่งต่างๆ โดยคำนึงถึงการบำรุงรักษาตั้งแต่ขั้นต้นของการออกแบบ ทุกคนสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในลักษณะของกิจกรรมกลุ่มย่อย ( Small Group Activity) .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ทำไมต้องทำการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม 3. เพื่อการพัฒนาองค์การ การปรับปรุงการเพิ่มผลผลิต ( Productivity Improvement ) การปรับปรุงคุณภาพ ( Quality Improvement ) การลดต้นทุน ( Cost Reduction ) การส่งมอบที่ตรงเวลา ( Delivery ) ความปลอดภัย ( Safety ) ขวัญกำลังใจของพนักงาน ( Morale ) การรักษาสิ่งแวดล้อม (Environment) .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::