ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
นายพิเชษฐ์ ปาณะ พงศ์ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายคเชนทร์ชิต เมี้ยนละม้าย หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุเพ็ญ หวัง ธรรมมั่ง หัวหน้าฝ่าย บริหารงานทั่วไป.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ณ 31 พฤษภาคม
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ ปี 58 การเตรียมการ (ตค.58-มค.59) การบูรณาการทำงาน (กพ.-เมย. 59) (พค.-กย.59) การดำเนินงานต่อในปี 59 13/02/59 กิจกรรมที่ดำเนินงาน ผล/ความคาดหวัง หน่วยงานในกษ.ดำเนินการแปลงใหญ่ของแต่ละหน่วยงาน *ทบทวนแปลงเป้าหมาย *ปรับกระบวนการทำงาน/จัดทำคู้มือการดำเนินงานแปลงใหญ่ของกระทรวงฯ *สร้างการรับรู้/ความเข้าใจผู้ปฏิบัติงานและเกษตรกร *พัฒนาทีมผู้จัดการ *บูรณาการทำงานเข้าปฏิบัติงานในแปลงใหญ่ *จัดทำข้อมูลในแต่ละแปลงใหญ่ *รวมกลุ่มเกษตรกร *วางแผนพัฒนาการผลิต/การตลาดในแต่ละแปลง *เชื่อมโยงแปลงใหญ่ในลักษณะประชารัฐ *ดำเนินการผลิต *ร่วมกันจัดหาปัจจัยการผลิต *ถ่ายทอดเทคโนโลยี/สนับสนุนการผลิต *บริหารจัดการผลผลิต การตลาด *พัฒนากุ่มให้มีความเข้มแข็ง *ขยายผลสู่แปลงใหญ่อื่นๆ(แปลงใหม่) *บูรณาการงบประมาณภายในหน่วยงาน กษ. *เชื่อมโยงการทำงานในลักษณะประชารัฐ ประชาสัมพันธ์ ติดตาม รายงาน *มีความหลากหลายและความแตกต่าง *ได้แปลงเป้าหมาย 268 แปลง *มีคู่มือการดำเนินงานที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันของกระทรวงฯ *เจ้าหน้าที่/เกษตรกรยังมีความเข้าใจที่หลากหลาย *ผู้จัดการมีความเข้าใจในแนวทางการบริหารแปลงและการดำเนินงานลักษณะประชารัฐ *หน่วยงานในสังกัด กษ. มีเป้าหมายการทำงานใน แปลงใหญ่ร่วมกัน *มีฐานข้อมูลแปลงใหญ่ที่เป็นเอกภาพ *มีการเชื่อมโยงภาคเอกชนลงไปสนับสนุนกิจกรรมในแปลงใหญ่ *เกิดการผลิตที่มีประสิทธิภาพ(ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพสินค้า และ มีตลาดรองรับ) *เกษตรกรมีการบริหารจัดการร่วมกัน เป็นกลุ่มที่เข้มแข็ง (การผลิต การตลาด) *เกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่มีการผลิตร่วมกัน ในลักษณะแปลงใหญ่ในพื้นที่อื่นๆเพิ่มขึ้น *ทุกหน่วยงานมีการ บูรณาการงบประมาณในเป้าหมายเดียวกัน

แนวคิดในการจัดการเกษตรกรรมแปลงใหญ่ รวมสมาชิก รวมผลิต รวมซื้อ รวมขาย บูรณาการ มีทีมผู้จัดการ ลดปัญหาแรงงาน มีสินค้าหลัก มีตลาดแน่นอน คน ภาครัฐ เกษตรกร ภาคเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนแบบบูรณาการตามความต้องการของพื้นที่และเกษตรกรภายใต้ภารกิจของหน่วยงาน สนับสนุนการบริหารจัดการ การตลาด การรับซื้อผลผลิต และการแปรรูป Smart Farmer ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม Smart Group คน สภาหอการค้า สภาอุตสาหกรรม พื้นที่ สินค้า มีความเหมาะสม พื้นที่ใกล้เคียงกัน มีข้อมูลและแผนที่รายแปลง ผลิตเชิงพาณิชย์ ต้นทุนลด ผลผลิตเพิ่ม คุณภาพดี เชื่อมโยงตลาด สมาคม ผู้ส่งออก/ สมาคม ผู้ค้าปลีก บริษัท ผลประโยชน์ร่วม หน่วยงานอื่นๆ ภาครัฐ เกษตรกร ภาคเอกชน 1. บริหารงาน เงิน คน มีประสิทธิภาพ 2. เกิดสมดุลของอุปสงค์ - อุปทาน 3. ความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตร 1. มีความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยี 2. รายได้เพิ่มและมั่นคง 3. มีตลาดแน่นอน 1.มีแหล่งซื้อสินค้าที่แน่นอนทั้งปริมาณและคุณภาพ 2. Social Business 3. CSR/ ชื่อเสียง

พื้นที่ดำเนินการแปลงใหญ่กรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2558 77 จังหวัด จำนวน 219 แปลง งบประมาณ : กรมส่งเสริมการเกษตร การเตรียมการ/การบริหารจัดการ 3.142 ล.บ. พัฒนาผู้จัดการ 5.113 ล.บ. ระบบการทำงานร่วมกับภาคีและเครือข่าย 0.43 ล.บ. การบริหารแปลงใหญ่ 4.3 ล.บ. รวม 12.985 ล.บ.

ข้อมูลแปลงใหญ่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) จำนวน 268 แปลง ข้อมูลแปลงใหญ่กรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) จำนวน 219 แปลง แปลงใหญ่ กสก. 49 แปลง 116 แปลง 54 แปลง แปลงใหญ่ กษ. 22 แปลง 268 แปลง แปลงต้นแบบ 76 แปลง แปลงใหญ่ กษ. ของหน่วยงานต่างๆ 268 แปลง แปลงใหญ่ กสก. 49 แปลง แปลงใหญ่ กสก. ทับซ้อนแปลงใหญ่ กษ. 116 แปลง แปลงต้นแบบ กษ. ของหน่วยงานต่างๆ 22 แปลง แปลงใหญ่ กสก. ทับซ้อนแปลงใหญ่ กษ.ซึ่งเป็นแปลงต้นแบบ 54 แปลง +

✽ แปลงต้นแบบ จำนวน 76 แปลง ✽ แปลงทั่วไป 192 แปลง ✽ แปลงใหม่ 382 แปลง พื้นที่ดำเนินการแปลงใหญ่ (กษ.) ปี 2559 ในจังหวัด 76 จังหวัด จำนวน 268 แปลง (ก.ย.58-มี.ค.59) ประกอบด้วย ✽ แปลงต้นแบบ จำนวน 76 แปลง ✽ แปลงทั่วไป 192 แปลง 13/02/59 กรมส่งเสริมการเกษตรได้แจ้งจังหวัดเพื่อดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของพื้นที่/คน และสำรวจความต้องการขยายจำนวนพื้นที่แปลงใหญ่ภายในจังหวัด โดยผ่านการพิจารณาการคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด (เม.ย. – พ.ค.59) พื้นที่ 77 จังหวัด จำนวน 650 แปลง ประกอบด้วย ✽ แปลงต้นแบบ จำนวน 76 แปลง ✽ แปลงทั่วไป 192 แปลง ✽ แปลงใหม่ 382 แปลง

ขั้นตอนการดำเนินงานแปลงใหญ่ การดำเนินงานในแปลงใหญ่ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ การเตรียมการ (สร้างการรับรู้ ,จัดตั้งทีมงาน,จัดทำข้อมูลแปลง) การพัฒนาผู้จัดการแปลง (ยกระดับขีดความสามารถในการบริหาร จัดการและการตลาดแก่ทีมผู้จัดการ) การกำหนดเป้าหมายและแผนพัฒนา (ลดต้นทุน, เพิ่มผลผลิต ,พัฒนาคุณภาพ,การตลาด และบริหารจัดการ) การปฏิบัติงานตามแผน (ปฏิบัติตามแผนที่กำหนดเน้นการมีส่วนร่วม ของทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร) การประเมินผล

สรุปแผนสนับสนุนการดำเนินงาน ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2559 (กษ.) ที่ หน่วยงาน แปลงต้นแบบ แปลงทั่วไป รวม 612,881,656 407,440,058 1,020,321,714 1 กรมส่งเสริมการเกษตร 23,887,000 11,013,000 34,900,000 2 กรมการข้าว 22,741,000 45,957,000 68,698,000 3 สำนักงานปลัดฯ 3,120,000 - 4 กรมพัฒนาที่ดิน 25,601,575 5 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 1,310,000 3,290,000 4,600,000 6 สำนักงานปฏิรูปที่ดินฯ 952,300 4,047,700 5,000,000 7 กรมชลประทาน 91,482,900 301,873,200 393,356,100 8 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 59,458,100 8,412,700 67,870,800 9 กรมประมง 3,103,781 5,265,250 8,369,031 10 กรมวิชาการเกษตร 2,480,800 11 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 194,200 12 กรมปศุสัตว์ 377,800,000 25,141,210 402,941,210 13 สำนักงานมาตรฐานฯ 750,000 2,439,998 3,189,998

การรายงาน ติดตาม และประเมินผล ระบบรายงาน ใช้แบบรายงานข้อมูลแปลงใหญ่ (ข้อมูลพื้นฐานแปลงใหญ่ 17 หน้า) ในส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 ปรับปรุงข้อมูล (Update) ได้ตลอดเวลา โดยใช้การรายงานผ่าน online (URL http://bigfarm.doae.go.th) รายงานเป็นรายแปลงโดยผู้จัดการแปลงอยู่ในการติดตามกำกับของ SC

ติดตาม และประเมินผล การติดตาม ประเมินผล (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร) ติดตาม และประเมินผล การติดตาม ภาพรวม โดย ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายในจังหวัด โดย SC และทีมส่วนกลางของหน่วยงานเจ้าภาพแปลง ประเมินผล (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร) ครั้งที่ 1 เดือนเมษายน 2559 (ได้รับผลการประเมินแล้ว) ครั้งที่ 2 เดือนกันยายน 2559

ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน การดำเนินงาน (ร้อยละ) ผลที่เกิดขึ้น ระยะเวลา ผลการดำเนินงาน ปัญหา แนวทาง 1. การเตรียมการ ต.ค.58-ม.ค.59   - สร้างการรับรู้ มีการจัดประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่/เกษตรกร ทุกแปลงแล้ว เจ้าหน้าที่/เกษตรกรยังมีความเข้าใจที่หลากหลาย SC ต้องทำความเข้าใจในทุกระดับ - รวมกลุ่มเกษตรกร ทุกแปลงมีการรวมกลุ่มเกษตรกร - จัดตั้งทีมงาน 4 ทีม บางจังหวัดยังไม่ได้จัดตั้งทีมงาน 4 ทีม บาง จว SC รักษาการทำให้ยังไม่ดำเนินการ ให้ ผู้รักษาการ SC เร่งดำเนินการจัดตั้งทีมงาน - จัดทำข้อมูลและแผนที่รายแปลง บางแปลงยังไม่ได้จัดทำ มีจำนวนแปลงย่อย/สมาชิกมาก ใช้เวลามาก ให้ SC เร่งการดำเนินการ  2. การพัฒนาผู้จัดการแปลง ก.พ. – เม.ย.59 - อบรมผู้จัดการแปลงให้มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการและ การตลาด อบรม 4 รุ่น รวม 520 คน รุ่นที่ 1 9 – 12 มี.ค.59 รุ่นที่ 2 17 - 20เม.ย.59 รุ่นที่ 3 20 – 23 เม.ย.59  รุ่นที่ 4 26 – 29 เม.ย.59 3. มีการกำหนดเป้าหมายแผนการพัฒนา บางแปลงยังไม่มีการกำหนดเป้าหมายแผนการพัฒนา ให้ผู้รักษาการ SC เร่งจัดตั้งทีมงานและดำเนินการ 4 การจัดทำแผนปฏิบัติงาน - ลดต้นทุนการผลิต - เพิ่มผลผลิต - บริหารจัดการ - เชื่อมโยงตลาด บางแปลงยังไม่มีการจัดทำแผน -บาง จว SC รักษาการทำให้ยังไม่ดำเนินการ -ยังมีการกำหนดไม่ครบทุกด้าน เช่น ด้านการตลาดและบริหารจัดการ 5 การปฏิบัติงานตามแผน ตั้งแต่ พ.ค.59 มีการดำเนินงานแล้วในบางกิจกรรมตามฤดูกาลผลิต 6. การติดตาม ประชาสัมพันธ์ และ ประเมินผล (ต่อเนื่อง) กำหนดการประเมินผล ครั้งที่ 1 เม.ย.59 ครั้งที่ 2 ก.ย.59  7. การสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งทุน - สำรวจความต้องการสินเชื่อ ก.พ.59 เรียบร้อยแล้ว  - การจัดทำโครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ภายใน มิ.ย.59 อยู่ระหว่างการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน การดำเนินงาน (ร้อยละ) ผลที่เกิดขึ้น แนวทาง 1. การเตรียมการ (ต.ค.58-ม.ค.59)   - สร้างการรับรู้ 100 เจ้าหน้าที่/เกษตรกรยังมีความเข้าใจที่หลากหลาย SC ต้องทำความเข้าใจในทุกระดับ - รวมกลุ่มเกษตรกร - จัดตั้งทีมงาน 4 ทีม 92 บางจังหวัดยังไม่ได้ตั้งทีม ให้ SC เร่งดำเนินการจัดตั้งทีมงาน - จัดทำข้อมูลและแผนที่รายแปลง 70 2. การพัฒนาผู้จัดการแปลง (ก.พ. – เม.ย.59) - อบรมผู้จัดการแปลงให้มีความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดการตลาดและ ดำเนินการอบรม 3 รุ่น รวม 450 คน รุ่นที่ 1 10 – 12 มี.ค.59 รุ่นที่ 2 19 -22 เม.ย.59 รุ่นที่ 3 26 - 29 เม.ย.59 3. มีการกำหนดเป้าหมาย 90 ยังมีการกำหนดไม่ครบทุกด้าน เช่น ด้านการตลาดและบริหารจัดการ ให้ SC ต้องทำความเข้าใจและให้ทีมงานกำหนดเป้าหมายให้ครบ 4 การจัดทำแผนปฏิบัติงาน ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิต บริหารจัดการ เชื่อมโยงตลาด ยังดำเนินการไม่ครบทุกแปลง ทีมผู้จัดการแปลงและทีมสนับสนุน เร่งรัดจัดทำแผนร่วมกับเกษตรกร 5 การปฏิบัติงานตามแผน (ตั้งแต่ พ.ค.59) มีการดำเนินงานแล้วในบางกิจกรรมตามฤดูกาลผลิต 6. การติดตาม ประชาสัมพันธ์ และ ประเมินผล (ต่อเนื่อง) กำหนดการประเมินผลครั้งที่ 1 เม.ย.59 ครั้งที่ 2 ก.ย.59 7. การสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งทุน 45 สำรวจความต้องการสินเชื่อ (ก.พ.59) - การผลักดันให้เกษตรกรรวมกลุ่ม แบบมีกฎหมายรองรับ (ภายใน มี.ค.59) อยู่ระหว่างการสำรวจสถานะ

กรณีตัวอย่าง : ปาล์มน้ำมันแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง กรณีตัวอย่าง : ปาล์มน้ำมันแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง ภาครัฐ ทำอะไร.... อบรมและตรวจรับรอง การผลิตตามมาตรฐาน RSPO ได้อะไร.... ผลผลิต 100 % ได้มาตรฐาน RSPO เพิ่มคุณภาพผลผลิต ทำอะไร.... 1. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ตามค่าวิเคราะห์ดิน 2. ซื้อปัจจัยการผลิต ร่วมกัน ลดต้นทุนการผลิต ได้อะไร.... ต้นทุนการผลิตลดลง จาก 6,808 บาท/ไร่ เป็น 4,752 บาท/ไร่ (ลดลงร้อยละ 42) ภาคเอกชน ทำอะไร.... 1. ใช้พันธุ์ดี 2. ใช้ปุ๋ยถูกต้อง และเหมาะสม เพิ่มผลผลิต ได้อะไร.... ผลผลิตเพิ่ม จาก 3.2 ตันต่อไร่ เป็น 4.2 ตันต่อไร่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 32) 1. บริหารจัดการแปลง 2. พัฒนาเกษตรกร เป็น Smart Farmer 3. พัฒนาวิสาหกิจชุมชน 4. จับพิกัดรายแปลง (งบประมาณ 302,900 บาท) สำนักงานเกษตรจังหวัดตรัง บริษัท ล่ำสูง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สำนักงาน ตรวจบัญชี สหกรณ์ จังหวัดตรัง อบรมการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ คน  สมาชิก 99 ราย  Smart Farmer 28 ราย  วิสาหกิจชุมชน 1 กลุ่ม สนับสนุนด้านการผลิต 1. พัฒนาการผลิตให้ได้มาตรฐาน RSPO (งบประมาณ 650,000บาท) 2. สนับสนุนทะลายปาล์ม และขี้เค้ก ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ฟรี ฝ่ายส่งน้ำ และบำรุงรักษา ที่ 2 ปตร.กะลาเส โครงการ ชลประทานตรัง 1. จัดทำแปลงเรียนรู้การใช้น้ำ 2. ขุดลอกคลองส่งน้ำและกำจัดวัชพืช หน้าประตูระบายน้ำ (งบประมาณ 525,000 บาท) 1.จัดตั้งธนาคารปุ๋ยหมัก 2.สนับสนุนการปรับปรุงบำรุงดินโดยใช้ โดโลไมท์และปอเทือง 3.ทำแผนที่รายแปลง (งบประมาณ 573,000 บาท) พื้นที่ ปลูกปาล์มน้ำมัน 2,756.04 ไร่  เป็นพื้นที่ S1 ทั้งหมด  แปลงย่อย 182 แปลง ในเขตชลประทาน 1,157.52 ไร่ ทีมผู้จัดการ เกษตรอำเภอนายธีระ วิวัฒนานนท์ เกษตรตำบลนายชัยนาท คงเขียว  ประธานวิสาหกิจฯ นายชัยฤทธิ์ ถ่ายย้วน  เกษตรกรต้นแบบ นายวิวัฒน์ ฮ่างเต็ก สถานีพัฒนา ที่ดินจังหวัดตรัง สินค้า  ผลผลิต 3.2 ตัน/ไร่ ต้นทุนการผลิต 6,808 บาท/ไร่  คุณภาพมาตร RSPO การบริหารจัดการ 1. วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับกำลังการผลิตของโรงงาน 2. วางแผนการเก็บเกี่ยวให้ผลผลิตมีคุณภาพสูง สำนักงาน สหกรณ์ เขาไม้แก้ว จำหน่ายปุ๋ยเคมีให้แก่สมาชิก ในราคาต้นทุน ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการเกษตร ตรัง สร้างแปลงต้นแบบการจัดการสวน ที่ถูกวิธี 5 แปลง (งบประมาณ 137,000 บาท) ทำอะไร.... 1. วางแผนและบริหารจัดการ การผลิต/ปัจจัยการผลิต/ การตลาด 2. ร่วมกันบริหารจัดการน้ำ 3. ส่งเสริมอาชีพเสริมรายได้ 4. สนับสนุนวิสาหกิจชุมชน ปาล์มน้ำมันฯ การบริหารจัดการ ได้อะไร.... 1. ผลผลิตออกทั้งปี 2. มีรายได้ต่อเนื่อง 3. มีความมั่นใจในเรื่องราคา และตลาด 4. เกษตรกรมีรายได้เสริม จากการเลี้ยงผึ้ง 50 ราย และเลี้ยงแพะ 1 ราย ทำอะไร.... 1. จัดทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Contract Farming) กับบริษัท 2. ซื้อผลผลิตราคาสูงกว่าตลาด 10 – 20 สตางค์ต่อกิโลกรัม ได้อะไร.... 1. มีตลาดแน่นอน 2. เกษตรกรมีรายได้เพิ่ม การตลาด การตลาด 1. ซื้อแบบข้อตกลงล่วงหน้าสูงกว่าราคาตลาด 10 – 20 สตางค์/กิโลกรัม 2. ขายปาล์มน้ำมันโดยไม่ติดคิว (ทางด่วน) สำนักงาน เศรษฐกิจ การเกษตร เขต 9 สงขลา จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานรายแปลง ธนาคารเพื่อ การเกษตรและ สหกรณ์ การเกษตร สนับสนุนสินเชื่อให้สมาชิก แปลงใหญ่ดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี สำนักงานเกษตร และสหกรณ์ จังหวัดตรัง สำรวจภาวะเศรษฐกิจครัวเรือนเกษตรกร (งบประมาณ 173,000 บาท) ประชารัฐ ศักยภาพผู้จัดการแปลง ชุมชนเข้มแข็ง ตลาดนำการผลิต อบต.กะลาเส/ อบต.เขาไม้แก้ว/ เทศบาลตำบล ควนกุน สนับสนุนการประชุมและถ่ายทอด เทคโนโลยี เช่น การประชาสัมพันธ์ , เต็นท์ เป็นต้น ปัจจัยแห่งความสำเร็จ