เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
Advertisements

ที่อยู่ อายุ + วัน / เดือน / ปี เกิด ประวัติ การศึกษา ชื่อ - สกุล ชื่อ - สกุล คติประจำ ใจ ความฝัน สิ่งที่ชอบ และ ไม่ ชอบ ชื่อบิดา มารดา.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชื่อบิดา มารดา ชื่อ-สกุล สิ่งที่ชอบ ที่อยู่ สิ่งที่ไม่ชอบ ประวัติการ
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายสรกฤษณ์ เมือง สนธิ์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายวิชัย เพ็ญดี หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุภาภรณ์ ไชยเวช หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายจีระ.
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
ชื่อ - สกุล ชื่อ - สกุล ที่อยู่ อายุ วัน เดือน ปีเกิด มาจาก โรงเรียน อดีต - ปัจจุบัน ชื่อ บิดา - มารดา ชื่อ บิดา - มารดา สิ่งที่ชอบ - สิ่งที่ไม่ชอบ สิ่งที่ชอบ.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ประวัติบ้านเหล่าจั่น
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น ศูนย์ศิลปาชีพบ้านโคกก่อง ที่ตั้ง
โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านดอนยม หมู่ที่ 7 ตำบลท่าขอนยาง
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินการหลังการประกาศ การชะลอการเพาะปลูกข้าวนาปีใน พื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2558/59 กรมส่งเสริม การเกษตร.
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
บันทึกข้อตงลงความร่วมมือ ว่าด้วยการอนุรักษ์ คุ้มครองถิ่นกำเนิดพืช สมุนไพรจากป่าชุมชน และส่งเสริมการปลูกป่าเพื่อ การใช้ประโยชน์พืชสมุนไพร อย่างยั่งยืน.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
นครศรีธรร มราช “ การ ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ และ วัฒนธรรม ” ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อ ยุทธศาสตร์ (Strategic.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
นำเสนอผลงานผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนดีเด่น ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนตำบลท่าแซะ
นางสาว พรไพลิน ปิ่นทอง เลขที่ 22 ปวช.1/1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
1.กิจกรรมหัวเราะโลก ปีที่ 2 (วันอาทิตย์ที่ 1 พ.ค.2559)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพร้าว
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
SMS News Distribute Service
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ข่าวส่งเสริมการเกษตร
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
1 กิจกรรมถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ครั้งที่ 1/2557 คณะวิเทศศึกษา ม.อ.ภูเก็ต 25 สิงหาคม 2557 รูปแบบลวดลายผ้าบาติกในกลุ่มจังหวัดอันดามัน The Designs.
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ: คุณศศิญา , คุณพนิดา , คุณแสงเดือน
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาราชบุรีฝั่งซ้าย
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อำเภอแก่งคอย จัดทำโดย 1. เด็กชายวีระชัย บัวขำ เลขที่ 1
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน

การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน เป็นการเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน เป็นการเก็บข้อมูลที่มาการตั้งถิ่นฐาน ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน แสดงให้เห็นวิถีการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ทราบประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น 2.เพื่อให้ทราบศักยภาพของท้องถิ่น 3.เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น วัสดุ/อุปกรณ์ 1.โทรศัพท์มือถือ 2.คอมพิมเตอร์ 3.เครื่องเขียน 4.สมุด

สิ่งที่ได้รับจากการทำใบงาน 1.ได้รับความรู้ว่าตำบลที่เราอยู่ ณ ปัจจุบันนี้ มีความสำคัญอย่างไร 2.ได้รู้ประวัติ ความเป็นมา 3.ได้รู้วิถีชีวิตของคนในชุมชน 4.ได้รู้จักคนในชุมชนตำบลของเรามากขึ้น 5.ได้การเข้าสังคมมากขึ้น

เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน ใบงานที่ 1..8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน ประวัติหมู่บ้าน สิบเอ็ดศอก ประวัติความเป็นมา ตำบลคลองนาแยกมาจากตำบลบางตีนเป็ด เป็นตำบลที่มีคลอง เล็ก ๆ ไหลผ่านซึ่งเป็นแหล่งน้ำสำหรับทำนาของชาวบ้าน เมื่อยกฐานะเป็นตำบลจึงให้ชื่อว่า “ตำบลคลองนา” พื้นที่ พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทำการเกษตรและเลี้ยงสัตว์

วิถีชีวิตของคนในชุมชน วิถีชีวิตค่อนข้างเรียบง่าย ผู้คนส่วนมากทำอาชีพ เลี้ยงสัตว์ และเพาะปลูกการเกษตร คนในชุมชนนิยมเลี้ยงสัตว์ที่สามารถ ขายได้และเปนอาหารได้ เช่น กุ้ง ปลา ไก่ และ หมู การเพาะปลูกการเกษตรก็ที่ในชุมชนนิยมกันก็จะมี เช่น มะพร้าว มะม่วง พลู หมาก และพืชผักที่สามารถทานได้ เนื่องจากคนในชุมชนส่วนมากเป็น ผู้เฒ่าผู้แก่ที่ไม่ได้อะไรทำ จึงปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ ทำเป็นอาชีพเพื่อช่วยลูกหลานของตนเอง

ใบงานที่ 1.9 แบบบันทึกข้อมูลวิถีชีวิต ใบงานที่ 1.9 แบบบันทึกข้อมูลวิถีชีวิต คำชี้แจง ให้แต่ละกลุ่มสอบถาม/สัมภาษณ์ วิถีชีวิต รอบวัน/รอบสัปดาห์/รอบเดือน/รอบปี (เก็บข้อมูลวิถีชีวิตกลุ่มละ ๒ คน) จัดทำโดย ชื่อกลุ่ม นางสาวพิชชาภา เผือกขวัญนาค วัน/เดือน/ปี 30 ม.ย 61 สถานที่ ฉะเชิงเทรา อำเภอบ้านโพธิ์ ตำบล สิบเอ็กศอก หมู่3 บ้านเลขที่44/1 บันทึก ฉะเชิงเทรา เมือง คลองนา หมู่3 บ้านเลขที่44/2

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 1 ชื่อ-สกุล นาย มงคล แซ่กุล อาชีพ รับจ้าง อายุ 58ปี ที่อยู่ ฉะเชิงเทรา สิบเอ็กศอก หมู่3 บ้านเลขที่44/1 -วิถีชีวิตรอบวัน (กิจวัตรประจำวัน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) อาชีพหลัก เลี้ยงกุ้ง อาชีพเสริม ทอเสื่อ -วิถีชีวิตรอบสัปดาห์ (การทำบุญวันพระ ฯลฯ) ส่วนใหญ่นั้นนิยมไปไหว้พระที่วัดพรหมสุวรรณ -วิถีชีวิตรอบเดือน (ประชุมรายเดือน การพัฒนาหมู่บ้าน ฯลฯ) ส่วนใหญ่จะไม่มีการประชุม วิถีชีวิตรอบปี (ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ) ทุกปีคุณป้าจะกลับไปบ้านเกิดอย่างน้อย 2-3 ครั้ง เพื่อไปหาพ่อแม่จะคุณลุง

ผู้ให้ข้อมูลคนที่ 2 ชื่อ-สกุล นาง น้อม วิริยา อาชีพ รับจ้าง อายุ 55ปี ที่อยู่ ฉะเชิงเทรา บ้านโพธิ์ สิบเอ็ดศอก หมู่3 บ้านเลขที่44/1 -วิถีชีวิตรอบวัน (กิจวัตรประจำวัน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) อาชีพหลัก เลี้ยงกุ้ง อาชีพเสริม ทอเสื่อ -วิถีชีวิตรอบสัปดาห์ (การทำบุญวันพระ ฯลฯ) ส่วนใหญ่นั้นนิยมไปไหว้พระที่วัดพรหมสุวรรณ -วิถีชีวิตรอบเดือน (ประชุมรายเดือน การพัฒนาหมู่บ้าน ฯลฯ) ส่วนใหญ่จะไม่มีการประชุม แต่ถ้าประชุมก็ที่อบต.คลองนา -วิถีชีวิตรอบปี (ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ) ทุกปีคุณป้าจะกลับไปบ้านเกิดอย่างน้อย 2-3 ครั้ง เพื่อไปหาพ่อแม่จะคุณลุง

รูปของหนึ่งในผู้ให้ข้อมูล

ขอบคุณสำหรับการรับชม