งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โดย น.ส.สุกัญญา พิมพ์ตีข้อ ม.4 MEP-A เลขที่ 20

2 การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน เป็นการเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน เป็นการเก็บข้อมูลที่มาการตั้งถิ่นฐาน ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน แสดงให้เห็นวิถีการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่น วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ทราบประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น 2.เพื่อให้ทราบศักยภาพของท้องถิ่น 3.เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น

3 การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วัสดุ/อุปกรณ์ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โทรศัพท์ 3. สมุด 4.ดินสอ

4 การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการ 1.สอบถามข้อมูลจากที่ทำการผู้ใหญ่/ที่ทำการกำนัน/องค์การบริหารส่วน ท้องถิ่น(อบต./เทศบาล) 2.สัมภาษณ์หรือสอบถามข้อมูลจากบุคคล เช่น ผู้อาวุโส ผู้รู้ในท้องถิ่น 3.เข้าร่วมกิจกรรมในหมู่บ้าน

5 การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
สิ่งที่ได้รับจากการทำใบงาน 1.ได้รู้ประวัติความเป็นมาของท้องถิ่น 2.ได้รู้ว่าในชีวิตประจำวันคนในหมู่บ้านทำอะไรบ้าง 3.เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น 4.ได้ฝึกการสัมภาษณ์ 5.ได้ทราบศักยภาพของท้องถิ่น

6 ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ตำบลแปลงยาว ตั้งขึ้นเมื่อปี 2360 ใครเป็นผู้ตั้งไม่ปรากฏแน่นอน สภาพเดิมเป็นป่าไม้ไผ่และป่าไม้เบญจพรรณ พื้นที่เป็นที่ราบลุ่มและราบสูง พื้นที่ที่เป็นที่ราบลุ่มมีลักษณะลำรางเป็นแปลงที่ยาวมาก ชาวบ้านจึงเรียกว่า "แปลงยาว" ตามสภาพภูมิศาสตร์จึงตั้งชื่อเป็นตำบลแปลงยาว จนถึงปัจจุบัน ประชาชนส่วนใหญ่มีเชื้อสายเขมรซึ่งอพยพมาจากมณฑลบูรพา พระตะบอง เสียมราช และศรีโสภณ ครั้งสมัยรัชกาลที่ 1 ต่อมาได้มีประชาชนหมู่บ้านใกล้เคียงอพยพมาอยู่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จึงกลายเป็นหมู่บ้าน ที่มีประชากรหนาแน่นมากในปัจจุบัน

7 ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยนั้น ได้แบ่งการรูปแบบการปกครองออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ การรวมอำนาจที่ส่วนกลาง , การแบ่งอำนาจในรูปของจังหวัดและอำเภอ และการกระจายอำนาจ ใช้การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น สภาตำบลวังเย็นเกิดขึ้นตามแนวความคิดการกระจายอำนาจ โดยสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่งจะประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้านของทุกหมู่บ้านในตำบล และแพทย์ประจำตำบล ซึ่งในปี พ.ศ.2538 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งสภาตำบลวังเย็น เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ประกาศ ณ วันที่ 2 เดือนมีนาคม พ.ศ โดยมี นายสายศักดิ์ ลีอนันต์ กำนันตำบลวังเย็น เป็นประธานกรรมการบริหาร (โดยตำแหน่ง) คนแรก และต่อมาได้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ในวันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ โดยมีสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน จำนวน 20 คน ซึ่งเป็นตัวแทนจากหมู่บ้าน ๆ ละ 2 คน จนกระทั่งเดือนกันยายน พ.ศ ที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น ในคราวการประชุมสมัยวิสามัญ สมัยที่ 2 ประจำปี 2549 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2549 คณะผู้บริหารได้เสนอญัตติ เรื่อง ขอรับความเห็นชอบในการจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นเป็นเทศบาลตำบลวังเย็นเข้าสู่ที่ประชุมสภาเพื่อขอความเห็นชอบและที่ประชุมสภาได้พิจารณาแล้ว มีมติเห็นชอบให้ดำเนินการจัดตั้งและเปลี่ยนแปลงฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นได้ ด้วยคะแนนเสียง 17 เสียง (ขาดประชุม 2 คน) หลังจากที่ประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ในช่วงเดือนตุลาคม 2549 องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น (ในขณะนั้น) ได้ดำเนินการทำประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนว่าประสงค์จะให้องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นยกฐานเป็นเทศบาลตำบลวังเย็นหรือไม่ ซึ่งผลจากการประชาพิจารณ์ประชาชนในพื้นที่เห็นด้วยกับการยกฐานะเป็นเทศบาล ตำบลคิดเป็นร้อยละ ของผู้ที่เข้าร่วมประชาพิจารณ์ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นเป็นเทศบาลตำบลวังเย็น ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือนมิถุนายน พ.ศ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2550 เป็นต้นไป มีผลให้สมาชิกภาพของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นสิ้นสุดลงและนายกองค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็นพ้นจากตำแหน่งนับแต่วันที่มีประกาศจัด ตั้ง บรรดางบประมาณ ทรัพย์สิน สิทธิ สิทธิเรียกร้อง หนี้ พนักงานส่วนตำบลและลูกจ้างขององค์การบริหารส่วนตำบลโอนไปเป็นของเทศบาลที่จัดตั้งขึ้น ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน วิถีชีวิต วิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทย คือ การเป็นสังคมเกษตรกรรมที่ทุกคนอาศัยอยู่รวมกันเป็นชุมชนในระดับครอบครัว เป็นครอบครัวขยายที่มีคนหลายรุ่นอาศัยอยู่รวมกัน คือ รุ่นปู่ย่าตายาย รุ่นพ่อแม่ รุ่นลูก รุ่นหลาน รวมทั้งมีญาติพี่น้องอาศัยอยู่ใกล้ชิดกัน โดยมีศูนย์กลางของชุมชน คือ ศาสนสถาน เช่น วัด มัสยิด ผู้ใหญ่ในชุมชน เช่น พระ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้เฒ่าผู้แก่

8 วิถีชีวิต ได้รับการนับถือและเป็นผู้ตัดสินความขัดแย้งในชุมชน มีขนบธรรมเนียมประเพณี การละเล่น และความเชื่ออันเนื่องมาจากการเป็นสังคมเกษตรกรรม จากการนับถือศาสนาและความเชื่อดั้งเดิมเรื่องการนับถือผีสางเทวดา

9 ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิถีชีวิตในอดีต

10 ใบงานที่ 1.8 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิถีชีวิต ปัจจุบันมีการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนไทยหลายอย่าง เช่น เกิดโรงงานอุตสาหกรรมจำนวนมาก คนในชนบทอพยพมาทำงานโรงงานมากขึ้น

11 วิถีชีวิตในปัจจุบัน

12 ใบงานที่ 1.9 แบบบันทึกข้อมูลวิถีชีวิต
ชื่อกลุ่ม ออฟอ วัน/เดือน/ปี 1 / กรกฎาคม / 2561 สถานที่บันทึก บ้านเลขที่ 63/2 ม.3 ต.วังเย็น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา และ บ้านเลขที่ 22/4 หมู่.2 ต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้าจ.ฉะเชิงเทรา 24110 รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1. น.ส.สุกัญญา พิมพ์ตีข้อ 2. น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ

13 ผู้ให้ข้อมูลที่ 1 ชื่อ-สกุล นางน้อย พิมพ็ตีข้อ อาชีพ ค้าขาย อายุ 58 ปี ที่อยู่ 63/2 ม.3 ต.วังเย็น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา 24190 -วิถีชีวิตรอบวัน (กิจวัตรประจำวัน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) ทาสี(ขายศาลพระภูมิ) ทำงานบ้าน ดูทีวี และดูแลหลาน -วิถีชีวิตรอบสัปดาห์ (การทำบุญวันพระ ฯลฯ) ทำบุญวันพระต่างๆที่วัดหนองหินช่วยงานที่วัดเช่น ล้างจาน กวาดศาลาวัด

14 -วิถีชีวิตรอบเดือน (ประชุมรายเดือน การพัฒนาหมู่บ้าน ฯลฯ)
ประชุมเกี่ยวกับการพัฒนาหมู่บ้าน -วิถีชีวิตรอบปี (ประเพณี วัฒนธรรม ฯลฯ) งานทำบุญบ้าน ทำบุญทอดกฐิน ทำบุญตักบาตรเทโว

15 ผู้ให้ข้อมูลที่ 2 ชื่อ-สกุล นางบุญชู ฤทธิ์เจริญ อาชีพ เกษตรกร อายุ 64 ปี ที่อยู่ 22/4 ม.2 ต.เสม็ดใต้ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา 24110 -วิถีชีวิตรอบวัน (กิจวัตรประจำวัน การประกอบอาชีพ ฯลฯ) เลื้องกุ้ง ทำอาหาร ทำงานบ้าน ดูโทรทัศน์ ดูแลบ้าน -วิถีชีวิตรอบสัปดาห์ (การทำบุญวันพระ ฯลฯ) ตักบาตรในตอนเช้าทุกเช้า จะมีพระมาบินฑบาต

16 ตัวอย่างวิถีชีวิต - ทำบุญบ้าน - ทำบุญทอดกฐิน

17 ตัวอย่างวิถีชีวิต - ทำบุญตักบาตรโว - ทำบุญเข้าพรรษา

18 ตัวอย่างวิถีชีวิต - สวดมนต์ข้ามปี - ลอยกระทง


ดาวน์โหลด ppt งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google