วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 การขอใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม การขอใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม  เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546  เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป.
Advertisements

โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546 เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป
การวิเคราะห์และการเปรียบเทียบการกระจายของอุณหภูมิและการไหลของอากาศภายในตู้อบเด็กแรกเกิด โดยระเบียบวิธีไฟไนท์อิลิเมนท์ Air flow and Thermal distribution.
วิชาการเป็นเลิศ เชิดชูคุณธรรม ผู้นำ
Introduction to Statics
LAB # 2 : FLOW IN PIPE Section 6
Centrifugal Pump.
หลักสูตร หมวดวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมศาสตร์
Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
ภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการ ENGLISH FOR THE WORKPLACE
บทที่2 แผนภาพ กระบวนการผลิต (Piping & Instrument Diagrams: P&ID)
LOGO Bachelor of Engineering Program in Manufacturing Engineering.
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
Review of Basic Principle of Thermodynamics 1
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
การทดสอบเครื่องวัดความดันโลหิต
การพัฒนาอิฐคอนกรีตน้ำหนักเบาผสมเถ้าปาล์มน้ำมัน DEVELOPMENT OF LIGHTWEIGHT CONCRETE MASONRY UNIT USING OIL PALM ASH นักศึกษา: น.ส.พัชราวรรณ เก๊อะเจริญ อาจารย์ที่ปรึกษา:
Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP บทบาทของวิศวกรเคมี
บทบาทของวิศวกรเคมี Lecture1_intro_ Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP 1.
Gas-Geothermal Combined Heat Exchanger for Gas Heating
Computer Integrated Manufacturing
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การสกัดน้ำผลไม้ การทำนมถั่วเหลือง การแยกครีม การทำน้ำผลไม้ให้ใส
วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Engineering
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
กลุ่มพัฒนาและตรวจสอบทางเทคนิค
การถ่ายเทพลังงาน โดย ดร.อรวรรณ ริ้วทอง :
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
ระบบหน่วยและมาตรฐานของการวัด System of Units & Standard of Measurements ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์
การผลิตไอน้ำ Steam generation.
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
แนวคิด ความหมาย และหลักการในการชี้บ่งอันตราย
จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
พลังงาน (Energy).
เครื่องจักรในปฏิบัติงาน Work Shop
หม้อไอน้ำ (Boilers).
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
พระพุทธศาสนา.
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
การกำจัดขยะและสารเคมี
Mini-research ตึกศัลยกรรมหญิง.
พว.พิมพ์วรา อัครเธียรสิน
Service Profile :งานจ่ายกลาง รพร.เดชอุดม
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
วิธีและเทคนิคการฝึกอบรม
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วก. 300 ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล 1 คำแนะนำก่อนการทดลอง http://www.me.engr.tu.ac.th/me300/

1. บทนำ

วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมความเข้าใจในเนื้อหาของวิชาบรรยาย และสร้างเสริมประสบการณ์ในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือ การทดลองต่างๆได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้เสริมกับวิชาบรรยายในสาย กลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ความร้อน กลศาสตร์ของแข็ง จลนศาสตร์

การทดลอง Intro Lab 1 Lab 2 Lab 3 Lab 4 Lab 5 Lab 6 Lab 7 Lab 8 Lab 9 No. ผู้สอน ชื่อการทดลอง สถานที่ Intro รศ.ดร. ดุลยโชติ ชลศึกษ์ แนะนำวิชา ห้อง 201 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 1 ผศ.ดร.ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ การสูญเสียในท่อ ห้อง 205 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 2 ผศ.เกียรติขจร สุเวทเวทิน ปั๊มแรงเหวี่ยง ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 3 ศ.ดร. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ห้อง 206 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 4 ผศ.ดร.สมศักดิ์ วงษ์ประดับไชย การวัดอุณหภูมิ Lab 5 ผศ.ดร.ฉัตรชัย มานะดี การวัดความเครียด ห้อง 207 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 6 รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย การทดสอบแรงดึง ห้อง 308 ชั้น 3 อาคารวิจัยฯ Lab 7 รศ.ดร.ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล แรงสู่ศูนย์กลาง ห้อง 203 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 8 อ.ดร.จิรประภา กิมสุนทร ไจโรสโคป ห้อง 201-2 อาคารปฏิบัติการฯ Lab 9 ครูช่าง การเชื่อมไฟฟ้า Lab 10 การกลึง

Lab 1 การสูญเสียในท่อ FLUID MECHANICS Lab 1 ESSOM HF135C Flow in pipe and flow measurement Lab 1 ผศ.ดร.ชาญณรงค์ อัศวเทศานุภาพ การสูญเสียในท่อ ห้อง 205 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 2 ปั๊มแรงเหวี่ยง FLUID MECHANICS Lab 2 ESSOM Centrifugal Pump Test Set Lab 2 ผศ.เกียรติขจร สุเวทเวทิน ปั๊มแรงเหวี่ยง ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 3 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน THERMODYNAMICS/ HEAT TRANSFER ESSOM TH211 or TH221 Shell and Tube heat Exchanger Lab 3 ศ.ดร. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ห้อง 206 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 4 การวัดอุณหภูมิ THERMODYNAMICS/ HEAT TRANSFER Lab 4 Armfield TH1 Temperature measurement Lab 4 ผศ.ดร.สมศักดิ์ วงษ์ประดับไชย การวัดอุณหภูมิ ห้อง 201 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 5 การวัดความเครียด SOLID MECHANICS Lab 5 ผศ.ดร.ฉัตรชัย มานะดี ห้อง 207 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 6 การทดสอบแรงดึง SOLID MECHANICS Lab 6 รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย Instron Universal Testing Machine Lab 6 รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย การทดสอบแรงดึง ห้อง 308 ชั้น 3 อาคารวิจัยฯ

Lab 7 แรงสู่ศูนย์กลาง DYNAMICS Lab 7 รศ.ดร.ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล Cussons P2799 Centripetal Force Apparatus Lab 7 รศ.ดร.ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล แรงสู่ศูนย์กลาง ห้อง 203 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 8 ไจโรสโคป DYNAMICS Lab 8 อ.ดร.จิรประภา กิมสุนทร ไจโรสโคป Cussons P5377 Electrical Gyroscope Lab 8 อ.ดร.จิรประภา กิมสุนทร ไจโรสโคป ห้อง 201-2 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 9 การเชื่อมไฟฟ้า อันตราย Workshop practice Lab 9 ครูช่าง ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ

Lab 10 การกลึง อันตราย Workshop practice Lab 10 ครูช่าง การกลึง ชั้น 1 อาคารปฏิบัติการฯ

การให้คะแนน พฤติกรรมการทำปฏิบัติการ 30 รายงาน 40 สอบปลายภาค 30

ข้อปฏิบัติ 1. การตรงต่อเวลา นักศึกษาที่มาสายเกิน 15 นาที จะไม่ได้คะแนนปฏิบัติการ 2. การแต่งกาย ให้ใส่ชุดปฏิบัติการ รองเท้าหุ้มส้น และ เก็บผมให้รัดกุม 3. เตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นมาด้วย เช่นเครื่องคิดเลข ไม้บรรทัด กระดาษกราฟ และ กล้องถ่ายรูป 4. ปฏิบัติตามคำแนะนำของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมปฏิบัติการอย่างเคร่งครัด 5. คำนึงถึงความปลอดภัยเป็นลำดับแรก 6. สังเกตและจดบันทึกเหตุการณ์ต่างๆระหว่างทำการทดลอง 7. เมื่อทำการทดลองแล้วเสร็จ ให้ทำความสะอาดพื้นที่ให้เรียบร้อย และเก็บอุปกรณ์ต่างๆกลับเข้าที่

2. ความปลอดภัย

ข้อควรคำนึงด้านความปลอดภัย การทดลอง ชนิดของอันตรายที่จะพบในวิชานี้ ข้อควรระวัง และอุปกรณ์ป้องกันเบื้องต้น สะเก็ดชิ้นส่วน เกี่ยว หนีบ ม้วน ดึง ของมีคม ของแข็งตกใส่เท้า แรงดันจากของไหล ความร้อน ไฟฟ้า แสงจ้า สะเก็ดไฟ เสียงดัง ควัน กลิ่น สารเคมี Lab 1 การสูญเสียในท่อ   x ระวังไฟดูด Lab 2 ปั๊มแรงเหวี่ยง Lab 3 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ระวังชิ้นส่วนร้อน Lab 4 การวัดอุณหภูมิ ระวังน้ำร้อน และไฟดูด Lab 5 การวัดความเครียด Lab 6 การทดสอบแรงดึง ระวังชิ้นส่วนกระเด็น Lab 7 แรงสู่ศูนย์กลาง ระวังชิ้นส่วนกระเด็น และไฟดูด Lab 8 ไจโรสโคป Lab 9 การเชื่อมไฟฟ้า หน้ากากเชื่อมกรองแสง ถุงมือเชื่อม ชุดเชื่อม (รองเท้านิรภัย) Lab 10 การกลึง เก็บผม ระวังเศษกลึงร้อนและคม ใส่แว่นตานิรภัย (รองเท้านิรภัย)

อันตรายจากเครื่องจักร การเกี่ยว ดึง หนีบ ชิ้นส่วนที่กระเด็น บาดเจ็บ พิการ เสียชีวิต ทำงานอย่างมีสมาธิ แต่งตัวให้รัดกุม ระวังชายเสื้อ, ปลายผม ใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น แว่นนิรภัย อย่าอยู่ในแนวแรงเหวี่ยง

การป้องกันเบื้องต้นคือ อันตรายจากไฟฟ้า ไฟช๊อต = ลัดวงจร  ความร้อน ไฟดูด = กระแสไหลผ่านอวัยวะ  บาดเจ็บ/เสียชีวิต ความรุนแรงขึ้นกับ ปริมาณกระแส ระยะเวลา และ เส้นทางของ กระแส การป้องกันเบื้องต้นคือ ใส่รองเท้าพื้นยาง ไม่ยืนบนพื้นเปียก ไม่สัมผัสกับชิ้นส่วนโลหะโดยไม่จำเป็น

อันตรายจากความร้อน โลหะร้อน ไม่สามรถเห็นด้วยตาเปล่า อุณหภูมิผิวมากกว่า 50C เริ่มทำให้ผิวหนังบาดเจ็บได้ ระวังอย่าเอามือจับไปทั่ว

อันตรายอื่นๆอีกมากมาย ถ้าไม่ระวัง เช่น แสง ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น สะเก็ดไฟ ควันเข้าตา ใบหินเจียรหลุด จับชิ้นงานไม่แน่นเวลาเจาะ ฯลฯ

การเกิดเพลิงใหม้ อาคารปฎิบัติการมีการแยกเก็บวัตถุไวไฟไว้ในโซนยานยนต์ ซึ่งปลอดภัยจาก การเกิดประกายไฟ ภายในอาคารมีการติดตั้งถังดับเพลิงไว้ตามจุดต่างๆและมีทางออกดังภาพถัดไป อย่างไรก็ตามในกรณีที่พบว่าเกิดเพลิงไหม้ ให้นักศึกษาแจ้งเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุม และออกจากตัวอาคารทันที

You are here 1st FL 2nd FL

3. การทดลองและการรายงานผล

ความสำคัญและขั้นตอนของการทดลอง การทดลองคือจำลองปรากฏการณ์จริงภายได้สภาพแวดล้อมที่ควบคุมได้ ทำการวัดข้อมูลที่ต้องการด้วยเครื่องมือและวิธีการที่เหมาะสม นำข้อมูลที่ได้มาตีความเพื่อนำผลลัพธ์ของการทดลองไปใช้ประโยชน์

ขั้นตอนของการทดลอง วางแผนในภาพรวม กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขต ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการทดลอง กำหนดข้อมูลต้องการวัด กำหนดค่าที่ต้องควบคุม กำหนดความแม่นยำที่ต้องการ ออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล กำหนดเครื่องมือจะต้องใช้ เตรียมการทดลอง สร้างชุดทดลอง จัดหาเครื่องมือ วัตถุดิบ หรือ จัดเตรียมชิ้นทดสอบ และติดตั้งอุปกรณ์วัดต่างๆ ดำเนินการทดลองและเก็บข้อมูล วิเคราะห์ผลการทดลอง เสนอผลการทดลองในรูปของรายงานที่ได้มาตรฐานสากล

การเก็บข้อมูลจากการทดลอง ควรคำนึงถึง ความไม่แน่นอนจากตัวเครื่องมือวัดเอง ความผิดพลาดจากการใช้เครื่องมือวัดไม่ถูกวิธี ความผิดพลาดในขั้นตอนการเก็บข้อมูล

เลขนัยสำคัญ 45.1 451 451.0 451,000 4.51 x 105 4.510 x 105

การบันทึกด้วยเลขนัยสำคัญ 2 3 4 3.1 2 3 4 3.15 2 3 4 x 103 3.15 x 103

สิ่งที่ต้องดำเนินการหลังจากการทดลองแล้วเสร็จ การแปรรูปข้อมูล ค่าที่อ่านจากเครื่องมือวัดสามตัวคือ a = 3.15 b = 41.75 และ c = 50.025 โดยผลการทดลองคือ d = a.b + c = 181.5375 ควรทำการปัดเศษโดยใช้นัยสำคัญของ a (3 หลัก) และนำเสนอด้วย d = 182

การนำเสนอผลการทดลอง กราฟ ควรใช้เลือกเป็นลำดับแรก

ตัวอย่างกราฟเส้นตรงที่ดี

ตัวอย่างกราฟเส้นตรงที่ไม่ดี

ตัวอย่างการใช้ semi-log scale y = a ebx

ตัวอย่างการใช้ log-log scale

การอภิปรายผลการทดลอง ทำการอภิปรายในประเด็นหลัก ตามวัตถุประสงค์ของการทดลอง การสังเกตแนวโน้มของกราฟ (ถ้ามี) การวิเคราะห์เชิงสถิติ รวมถึงการทำนายความสัมพันธ์โดยการฟิตสมการเข้ากับชุดข้อมูล (ถ้ามี) การเปรียบเทียบกับค่าที่ทำนายจากทฤษฎี ในลักษณะของกราฟ หรือตัวเลขเปอร์เซ็นต์ความแตกต่าง การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของปรากฏการณ์ที่สังเกตได้หรือบันทึกภาพได้ การตรวจสอบและวิเคราะห์หาสาเหตุของความผิดพลาดของผลการทดลอง

การสรุปผลการทดลอง สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปจากข้อมูลที่อภิปรายไว้ สิ่งที่ค้นพบ ประโยชน์ที่ได้ ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง หากการทดลองใดมีคำถามท้ายการทดลอง ให้ตอบคำถามต่อจากบทสรุป

การส่งรายงาน รายงาน เขียนด้วยมือลงในแบบฟอร์มรายงาน ให้นักศึกษาทุกคนสรุปบันทึกคำบรรยาย บันทึกผลการทดลอง และให้อาจารย์ผู้ควบคุมปฏิบัติการลงนามรับรองภายในชั่วโมงปฏิบัติการ จากนั้นนำรายงานที่สมบูรณ์พร้อมแนบเอกสารที่จำเป็น ส่งให้เจ้าหน้าที่ช่างเทคนิค ประทับวันที่รับ ภายวันทำการถัดไป (เว้นแต่อาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านจะกำหนดเป็นวันอื่น) การลอกรายงาน ถือเป็นความผิดร้ายแรงอันสะท้อนถึงความไม่ซึ่อสัตย์ ผิดจรรยากรรณของวิศวกร ดังนั้นนักศึกษาที่เกี่ยวข้องจะได้รับ เกรด F

แบบฟอร์มรายงาน http://www.me.engr.tu.ac.th/me300/

ถาม-ตอบ http://www.me.engr.tu.ac.th/me300/