ญาณวิทยา(Epistemology) : ทฤษฏีความรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Advertisements

การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กระบวนการของการอธิบาย
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความสำคัญ ของคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ญาณวิทยา(Epistemology) : ทฤษฏีความรู้ เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งมีหน้าที่ในการ ตอบคำถาม และ หาความหมายเกี่ยวกับ ความรู้ด้านต่าง ๆ

มนุษย์มีความรู้ได้เพราะ “รู้จักคิด” วิธีได้ความรู้ 1. รู้ทางผัสสะ : อายตนะ 2. รู้โดยสามัญสำนึก, ความรู้สึก 3. รู้โดยตรรกวิธี : เหตุผล 4. รู้โดยญาณหรือหยั่งรู้ : รู้แจ้ง 5. รู้โดยทางวิทยาศาสตร์ : สังเกต ทดลอง

ความหมายของการวิจัย การวิจัย หมายถึง การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยวิธีการ เพื่อให้พบข้อเท็จจริงหรือหลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฏี หรือแนวทางในการปฏิบัติ

การวิจัย 3 ประเภท (วิธีการ/ผล) การวิจัยพื้นฐาน : เป็นการศึกษาค้นคว้า ไม่มุ่งประโยชน์เฉพาะ การวิจัยประยุกต์ : มุ่งประโยชน์เฉพาะ การวิจัยและพัฒนา : มุ่งสู่สิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรืออื่น ๆ ที่ดีกว่าเดิม 1 2 3

หัวใจของกลุ่มความคิด ของสิ่งที่มีความหมาย กรอบแนวคิด ทัศนธาตุ (Element) หลักการ (Principle) สัญลักษณ์ (Symbol) ความรู้สึก (Feeling) อารมณ์ (Emotion) Core แกน Of Meaning คือ หัวใจของกลุ่มความคิด หลายความคิด เป็นแกน (Core) ของสิ่งที่มีความหมาย

ตั้งคำถามหลายแบบ หลายแง่มุม เลือกปรากฏการณ์ ตั้งคำถามหลายแบบ หลายแง่มุม วิธีวิทยา* ระดับการวิเคราะห์ สร้างกรอบแนวคิด “เกิด-ดำรง-สิ้นสุด” ของปรากฏการณ์ เลือกวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ เขียนรายงาน

ทัศนศิลป์ คำถามสำคัญ รูปแบบ (Style) เป็นอย่างไร ประติมานวิทยา (Iconography) เป็นอย่างไร บริบทเกี่ยวกับมิติร่วมสมัย ทางประวิติศาสตร์ (Historical Context) เป็นอย่างไร ทำไมจึงสร้างงานศิลปะ (The work of Art) 1 2 3 4

: ช่วยนำไปสู่ เป็นเครื่องมือ ช่วยให้เข้าถึงคุณค่า ทฤษฎีทางศิลปะ 1 : ช่วยนำไปสู่ เป็นเครื่องมือ ช่วยให้เข้าถึงคุณค่า มีวิธีการ และเกณฑ์อย่างไร 2 แต่ละเกณฑ์ มีคุณค่าต่างกันอย่างไร ช่วยให้เห็นอะไร สิ่งที่เห็นสร้างอย่างไร สะท้อนคุณค่า ด้านใดบ้าง

จำแนกแนวคิด ทฤษฎี : รูปแบบการแสดงออก ทฤษฎีการเลียนแบบ ทฤษฎีนิยมรูปทรง ทฤษฎีนิยมอารมณ์ ทฤษฎีนิยมจินตนาการ 1 2 3 4

ทฤษฎีการเลียนแบบ : 1 ความถูกต้องทางการเห็น ศิลปะคือการเลียนแบบโลกภายนอก เช่น ยุคคลาสสิค , เรียลลิสต์ติก , โรแมนติค ท. -ของแสงและเงา -รูปและพื้น -สี (แม่สีช่างเขียน) ฯลฯ 1

ทฤษฎีนิยมรูปทรง : หัวใจสำคัญของทัศนศิลป์ คือ รูปทรงอันบริสุทธ์ (รูปทรงใหม่) กระบวนการทางจิตของศิลปิน เช่น -กลุ่มศิลปะคิวบิสม์ -ฟิวเจอริสม์ ท. -จิตวิเคราะห์ (แม่สีจิตวิทยา) -การรับรู้ ฯลฯ 2

ทฤษฎีนิยมอารมณ์ : 3 การแสดงออกสู่ผู้ดู เช่น -เอ็กซเพรสชั่นนิสม์ เช่น -เอ็กซเพรสชั่นนิสม์ -โรแมนติค ท. -การรับรู้ -จิตวิทยาเกสตอลท์ ฯลฯ 3

ทฤษฎีนิยมจินตนาการ : 4 แบบอุดมคติ เช่น -ผลงานแนวประเพณี -เซอเรียลิสม์ เช่น -ผลงานแนวประเพณี -เซอเรียลิสม์ ท. -สี (จิตวิทยาสีทางพุทธ) -แนวคิดพุทธ / พราหมณ์ / ผี -สกุลช่าง -ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปิน กับสิ่งประดิษฐ์ ฯลฯ 4

ความสัมพันธ์ระหว่างกรอบความคิด กรอบความคิด เฉพาะอย่าง แนวความคิดอื่น ที่ เกี่ยว ข้อง กรอบความคิด เฉพาะอย่าง ความสัมพันธ์ แนวความคิดอื่น แนวคิดตัวตน * * เช่น * * ทัศนธาตุ หลักการ วิถีไต ความสัมพันธ์ ระบบความคิดตะวันออก ผลงาน อิทธิพล ท.รูปแบบ จิตวิทยาสี-สัญลักษณ์สี กายวิภาค ภูมิทัศน์ หลักการเขียนภาพ วิถีชีวิต

การวิจัยทางทัศนศิลป์ : ขั้นตอน ต้องวิเคราะห์ ตีความ และคุณค่าที่ปรากฎ การรวบรวมข้อมูล ผลงานจริง / ภาพจำลอง (Reproductions) เอกสาร / สื่อ สัมภาษณ์ 1

การวิจัยทางทัศนศิลป์ : ขั้นตอน <ต่อ2> การวิเคราะห์ - ตีความ พิจารณาเทคนิค พิจารณาคุณค่า พิจารณาแนวคิด แนวเรื่อง พิจารณาเหตุผลตามหลัก Subjective และ Objective 2

การวิจัยทางทัศนศิลป์ : ขั้นตอน <ต่อ2> วิเคราะห์ผลงาน องค์ประกอบส่วนใหญ่ : รูปทรง / เนื้อหา องค์ประกอบส่วนย่อย : Element / แนวคิด นำมาตีความ-วิเคราะห์ว่าศิลปิน ต้องการสื่อความหมาย / รู้สึก / อารมณ์ใด

การวิเคราะห์งานทัศนศิลป์ / เข้าใจ ชื่นชม ผู้วิจัยต้องศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการแสดงของศิลปิน ว่าอยู่กลุ่มใด ทฤษฎีการเลียนแบบ : ธรรมชาติ ทฤษฎีนิยมรูปทรง : มูลฐาน / ลดทอนธรรมชาติ ทฤษฎีนิยมอารมณ์ : รู้สึก / อารมณ์ (Abtract) ทฤษฎีนิยมจินตนาการ : อุดมคติ

การประเมิน หรือการตัดสิน ขั้นตอนการวิเคราะห์ 2 การวิเคราะห์ 1 การพรรณนา 2.1 ความสัมพันธ์ การรับรู้ ความหมาย 2.2 โครงสร้าง : หลักการจัดภาพ 2.3 เทคนิค 2.4 เนื้อหา 2.5 ความรู้สึก 4 การประเมิน หรือการตัดสิน 3 การตีความ

การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ / ลัทธิศิลปะ นิยมศึกษา รูปแบบทางศิลปะ (Art style) โดยนำบริบทร่วมสมัยมากำหนด “คุณค่า” คำถาม คุณค่าของสิ่งนั้นเปลี่ยนแปลงอย่างไร (พุทธศาสนิกชนสร้างรูปเปรียบอดีต  ปัจจุบัน) คุณค่าไม่ได้อยู่ที่ยุคสมัย แต่อยู่ที่.... (มีต่อ ) 1 2

การศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ / ลัทธิศิลปะ <ต่อ2> แต่อยู่ที่ การตอบคำถามว่า สร้างทำไม เพราะเหตุใดจึงสร้าง สร้างอย่างไร รูปแบบศิลปะเป็นอย่างไร จะนำไปประยุกต์สร้างอย่างไร 1 2 3 4

ระเบียบวิธีวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ศิลป์ ตรวจสอบผลงานการค้นคว้าสิ่งที่ผู้อื่นทำไว้ ผลงานศิลปะถูกสร้างโดยความตั้งใจในอดีต ข้อมูลในอดีตที่นำมาใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยต้องคัดสรร ผู้วิจัยไม่อยู่ร่วมสมัย ต้องระมัดระวัง กระบวนการวิเคราะห์ต้องตีความ วิพากษ์ วิจารณ์ 1 2 3 4 5

ขั้นตอนการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ศิลป์ / ขั้นตอน 1 การรวบรวมข้อมูล การกำหนดอายุโดยวิธีการ ของประวัติศาสตร์ศิลป์ - ความเหมือน / ต่าง / คลี่คลาย : ปรัชญา ศาสนา - เปรียบเทียบกับสิ่งที่ทราบอายุแน่นอน - กำหนดอายุเปรียบเทียบ รูปแบบร่วมสมัย - การจาร / จารึก 3 2 การวิเคราะห์ – ตีความ - แท้ / เลียนแบบ , พิจารณาคุณค่า - พิจารณารูปแบบเทียบเคียง - พิจารณาลักษณะ ทางประติมานวิทยา - ค่านิยม / คติการสร้าง

ปรัชญา : ความหมาย ความรู้อันประเสริฐ ซึ่งเกิดจากการ คิดตรึกตรองอย่างมีเหตุผล เกิดความ เข้าใจแจ่มแจ้งในปัญหาโดยไม่มีข้อสงสัย

อภิปรัชญา (Metaphysics) : ทฤษฏีความจริง (Reality) เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งมีหน้าที่ ตอบคำถาม และ หาความหมายของความจริงแท้ (Ultimate Reality)

จิตนิยม สสารนิยม ทวินิยม 1 2 3

วิธีวิทยา (Mrthodology) : เกิดจากคำถามการวิจัย วิธีการ (Method) : คือ วิธีการหาความเชื่อมโยง ระหว่างวิธีคิดสู่กระบวนการ : หมายถึง ปรัชญาของกระบวนการทำวิจัย ประยุกต์ใช้ แนวคิดสู่การรวบรวมข้อมูล เพื่อหาข้อสรุป สามารถตอบคำถามการวิจัยได้ (เชิงปริมาณ-เชิงคุณภาพ) วิธีการ (Method) : หมายถึง เทคนิคหรือวิธีการเก็บข้อมูล (สอบถาม สังเกต สัมภาษณ์ ศึกษาเอกสาร)