หลักสูตรและกระบวนการ การจัดการเรียนรู้เพื่อลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติในสถานบริการสุขภาพ
พัฒนาขึ้นมาโดย Ross Kid ที่ปรึกษาอิสระ ที่ร่วมงานกับ RTI ที่มาของหลักสูตร หลักสูตร TOT ประกอบด้วย 4 หลักสูตรย่อย (21 กิจกรรม) และ ภาคผนวก หลักสูตร A : ใช่ - เรากำลังตีตราและเราต้องเปลี่ยนแปลง มี 6 กิจกรรม หลักสูตร B : การตีตราที่เป็นการตำหนิและการทำให้อับอาย และความเข้าใจเรื่องกลุ่มประชากรหลัก มี 8 กิจกรรม หลักสูตร C : การตีตราที่มาจากความกลัว และการปรับปรุงความรู้เรื่องการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี มี 4 กิจกรรม หลักสูตร D : การขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ มี 3 กิจกรรม ภาคผนวก : เอกสารข้อเท็จจริง 13 เรื่อง พัฒนาขึ้นมาโดย Ross Kid ที่ปรึกษาอิสระ ที่ร่วมงานกับ RTI
Ross Kid’s Curriculum on S&D Reduction in Health Care Facilities A1. Naming S&D in health facilities through pictures A2. How stigma feels—individual reflection exercise A3. Naming S&D in our health facility A4. Effects of S&D on the HIV epidemic A5. Analyzing different forms of S&D in health facilities A6. Human rights—people living with HIV and Key populations B1. True-false quiz on key populations B2. Panel discussion on key populations B3. The blame Game – things people say about PLHIV and key populations B4. Breaking the sex Ice B5. Exploring beliefs about PLHIV and other key populations B6. Understanding the different identities of sexual minorities B7. Understanding drug addiction and harm reduction B8. Harm reduction, drug use, and HIV C1. Fears about getting HIV through Non sexual casual contact C2. HIV transmission and MSM C3. HIV transmission and people who use drugs C4. Fear of getting HIV in health facilities and overcoming fear through universal precautions D1. Writing code of practice and action plan D2. Challenging stigma D3. Confidentiality
ปฏิบัติการและหัวใจของหลักสูตร ประกอบด้วย 4 ประเด็น การสร้างความตระหนักเรื่อง S&D S&D ที่มาจากการตำหนิและทำให้อับอาย ความกลัว-กังวลในการให้บริการ (HIV & KPs) นโยบาย/แนวปฏิบัติ/เงื่อนไขที่เอื้ออำนวยต่อการลด S และขจัด D รับรู้รูปแบบ และการกระทำ S&D รับรู้ผลกระทบ และค้นหาที่มาที่ไป ค้นหาที่มาที่ไป และใช้หลัก UP และ HR เพื่อปรับลด S&D การเปลี่ยนแปลงที่ทำได้เลย และที่ต้องใช้เวลา (ทั้งปัจเจกและระบบ 3 หลักการสิทธิมนุษยชนด้านสุขภาพ สิทธิในการได้รับการดูแลสุขภาพที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สิทธิด้านความเป็นส่วนตัว (การรักษาความลับ) สิทธิด้านเสรีภาพในการตัดสินใจ
การออกแบบหลักสูตรการอบรม บนพื้นฐานความเป็นไปได้ในการจัดการเรียนรู้ในโรงพยาบาล ผู้เข้าร่วมฯ 30 คน/ครั้ง มาจากแผนกต่างๆ (ทั้งสายวิชาชีพด้านสุขภาพ และไม่ใช่วิชาชีพ) ควรเข้าร่วมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย กิจกรรม 10 กิจกรรม ในเวลา 12 ชั่วโมง A1, A2, A3 และ A6 B2 และ B 3 C1 และ C4 D1 การทบทวนตนเองเรื่องความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง การออกแบบการจัดการเรียนรู้ 2 วันต่อเนื่อง หรือ ช่วงบ่ายของวัน ติดต่อกัน 3 วัน
ติดตามต่อเนื่องเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ ปรับเปลี่ยนคน และปรับเปลี่ยนระบบ เพื่อ ปรับลดการตีตราและขจัดการเลือกปฏิบัติ มีความสุขใจในการให้บริการ กำหนด COP เปิดใจยอมรับ หาทางปรับลด ค้นหาที่มาที่ไป เข้าใจผลกระทบ ทบทวน ชวนดู
เป้าหมาย/ผลหลังการอบรม การลด S&D ในระดับบุคคล การลด S&D ในเชิงระบบ หัวใจการจัดอบรมจึงอยู่ที่ “ การเปิดพื้นที่” ให้พูดคุยได้อย่าง “เปิดใจ” เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจากภายใน การมี “พื้นที่ปลอดภัย” ในการพูดคุยแลกเปลี่ยน โดย “ไม่ถูกตัดสิน” หรือ” ตำหนิ” ไม่ใช่เป็นการบอกหรือสอนให้เปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนการเรียนรู้ในหลักสูตร 10 กิจกรรม Day 1 เข้าใจรูปแบบ S&D และเข้า ใจเขา-ใจเรา กิจกรรมที่ 3 เกมตำหนิเข้าใจแนวคิดการตีตราฯ ผ่านคำเรียก PLHIV/KPs และการผลิตซ้ำของสังคม กิจกรรมที่ 5 ความกลัวและกังวล “เรา”ในฐานะผู้ให้บริการยังมีความกลัว/กังวลใจในการให้บริการในหลายๆลักษณะ กิจกรรมที่ 1 ใช่ เรากำลังตีตรา รู้จักรูปแบบการตีตราฯ A1 A2 B3 B2 C1 กิจกรรมที่ 2 เราทุกคนเคยถูกตีตรา เพื่อเข้าใจความรู้สึกของคนที่ถูก ตีตราฯ กิจกรรมที่ 4 พยานชีวิต เข้าใจผลกระทบ/ความกังวลจากการถูกตีตราฯ ในมุมของผู้รับบริการ Day 2 วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข กิจกรรมที่ 10 แนวทางเพื่อแก้ไข กิจกรรมที่ 8 Reflection ทบทวนเพื่อเปลี่ยนแปลงตัวเอง C4 A3 Reflection A6 D1 กิจกรรมที่ 6 UP การแก้ไขความกลัวการติดเชื้อฯ ด้วยหลัก UP กิจกรรมที่ 7 การเอ่ยเรื่องการตีตรา มี S&D ในรพ.? ค้นหาที่มาที่ไป กิจกรรมที่ 9 สิทธิมนุษยชน หลักยึดในการสร้างการเปลี่ยนแปลง (นอกจาก UP) สิทธิมนุษยชน
สิ่งแวดล้อม
การออกแบบหลักสูตรการอบรม บนพื้นฐานความเป็นไปได้ในการจัดการเรียนรู้ในโรงพยาบาล ผู้เข้าร่วมฯ 30 คน/ครั้ง มาจากแผนกต่างๆ (ทั้งสายวิชาชีพด้านสุขภาพ และไม่ใช่วิชาชีพ) ควรเข้าร่วมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย กิจกรรม 5 กิจกรรม ในเวลา 6 ชั่วโมง การออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1 วันต่อเนื่อง หรือ ช่วงบ่ายของวัน ติดต่อกัน 2 วัน