รายวิชา Folk Dance Skills 1 (0606109) (ทักษะนาฏยศิลป์พื้นเมือง 1) อ. รัตติยา โกมินทรชาติ อ. วิภารัตน์ ข่วงทิพย์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน)
อีสานเหนือ (กลุ่มวัฒนธรรมหมอลำ-หมอแคน) มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลำภู ชัยภูมิ บึงกาฬ ขอนแก่น ยโสธร มุกดาหาร อุบลราชธานี หนองบัวลำภู อีสานใต้ (กลุ่มวัฒนธรรมเขมร เจรียง- กันตรึม) นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีษะเกษ
บ่อเกิดแห่งฟ้อนอีสาน …… “ความเชื่อ” : บ่อเกิดของฟ้อนอีสานดั้งเดิม - เชื่อเรื่องแถน ภูตผี อำนาจเหนือธรรมชาติ - เชื่อเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ - ความกลัว
“การฟ้อนอีสานดั้งเดิม” ฟ้อนที่เกิดจากสัญชาติญาณบริสุทธิ์ของคนไท อีสาน ด้วยการขยับเคลื่อนไหวอันแฝงฝังจาก ความรู้สึกนึกคิด ทั้งเวลาทุกขเวทนา และสุขเวทนาใน อารมณ์อยู่เป็นประจำให้เกิดเป็นท่าทางต่างๆ ตาม สภาพแวดล้อม ภูมิประเทศ ภูมิอากาศท้องถิ่นนั้นๆ (พีรพงศ์ เสนไสย. สายธารฟ้อนอีสาน.2547 ) “การฟ้อนอีสานดั้งเดิม”
ฟ้อนผีฟ้านางเทียม คือ พิธีกรรมในการรักษาโรค เป็นการฟ้อนรวมกลุ่มกันเป็น ส่วนมาก แสดงท่าทางฟ้อนรำ ตามใจชอบ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่ เคลื่อนไหวที่ตายตัว เป็นการฟ้อน ที่ออกมาจากจิตใจ แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ (รูปภาพประกอบ) 1. การรักษาโรคภัยไข้เจ็บ 2. การฟ้อนเพื่อบูชาผีฟ้า ประจำปี
การฟ้อนรำของชาวบ้าน เป็นการฟ้อนรำอันเกิดจากความรู้สึก ของชนธรรมดาสามัญ โดยไม่ต้องมี การฝึกหัดหรือมีก็เพียงเล็กน้อย เต็ม ไปด้วยความสนุกสนาน มีชีวิตชีวา ที่มาของภาพ : ผศ. พีรพงศ์ เสนไสย
“ก้มต่ำ รำกว้าง ไม่หวงเนื้อหวงตัว” เอกลักษณ์การฟ้อนอีสาน (ดร “ก้มต่ำ รำกว้าง ไม่หวงเนื้อหวงตัว” เอกลักษณ์การฟ้อนอีสาน (ดร.ฉวีวรรณ พันธุ) ศิลปินแห่งชาติ
3. การฟ้อนพื้นบ้าน ฮีตสิบสอง คองสิบสี่ “ฮีตสิบสอง” คือ ธรรมเนียม แบบแผนความ ประพฤติ ที่ดีงามปฏิบัติสืบต่อกันมาจนกลายเป็นประเพณี ฮีต ประเพณีภาคอีสาน “ประเพณี” หมายถึง แบบแผนในการดำเนินชีวิตที่คนใน สังคมเห็นว่าถูกต้องดีงามและประพฤติปฏิบัติกัน โดยมี พื้นฐานที่สำคัญมาจากความเชื่อที่กลายเป็นขนบธรรมเนียม ประเพณี ประชากรในภาคอีสานมีหลายเชื้อชาติ มีทั้งไทย ลาว เขมร ส่วยแสก โซ่ง ผู้ไทย แต่ละเชื้อชาติจะพูดภาษาที่แตกต่าง กันออกไป จัดแบ่งลักษณะของประเพณีได้ดังต่อไปนี้
ประเพณีภาคอีสาน 4. ประเพณีที่รู้จักของคน ทั่วไป 1. ประเพณีเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต ประเพณีเกี่ยวกับการเกิด ประเพณีกินดอง ประเพณีการตาย 2. ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา ประเพณีการบวช ประเพณีการทำบุญ และแบบ แผนการ ปกครอง 3. ประเพณีเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ ประเพณีผูกเสี่ยว ประเพณีลงแขก ประเพณีบายศรีสู่ขวัญ ประเพณีรับแขกในเทศกาลบุญต่าง ๆ 4. ประเพณีที่รู้จักของคน ทั่วไป ประเพณีเกี่ยวกับการขอฝน ประเพณีเกี่ยวกับข้อห้าม
ฮีตสิบสอง ฮีตสิบสอง คือ ธรรมเนียม แบบ แผนความประพฤติ ที่ดีงามปฏิบัติสืบ ต่อกันมาจนกลายเป็นประเพณี หรือ การทำบุญ 12 เดือน ฮีตที่ 1. บุญเข้ากรรม หรือ บุญเดือน เจียง ฮีตที่ 2. บุญคูนข้าว หรือ บุญคูนลาน ฮีตที่ 3. บูญข้าวจี่หรือบุญเดือนสาม ฮีตที่ 4. บุญเผวส หรือ บุญเดือนสี่ ฮีตที่ 5. บุญสรงน้ำ หรือ บุญเดือนห้า ฮีตที่ 6. บุญบังไฟ หรือบุญเดือนหก ฮีตที่ 7.บุญซำฮะ หรือ บุญเดือนเจ็ด ฮีตที่ 8.บุญเข้าวัดสา(เข้าพรรษา) หรือบุญเดือนแปด ฮีตที่ 9. บุญข้าวห่อประดับดิน หรือ บุญเดือนเก้า ฮีตที่ 10.บุญข้าวสาก หรือบุญเดือน สิบ ฮีตที่ 11.บุญออกวัดสา (ออก พรรษา) หรือบุญเดือนสิบเอ็ด ฮีตที่ 12. บุญกฐิน หรือ บุญเดือนสิบ สอง
ศัพท์นาฏศิลป์พื้นเมือง 1. ฟ้อน 2. เซิ้ง 3. รำ 4. ลำ ฟ้อนอีสาน ศัพท์นาฏศิลป์พื้นเมือง 1. ฟ้อน 2. เซิ้ง 3. รำ 4. ลำ
ฟ้อนอีสาน “ฟ้อน” คือ การร่ายรำของคนภาคเหนือ เช่น ห้อนเล็บ ฟ้อน เทียน ห้อนดาบ ฟ้อนลาวแพน “เซิ้ง” คือ การฟ้อนประกอบกาพย์เซิ้งอย่างสนุกสนาน อันเป็น การละเล่นของคน ภาคอีสาน เช่น การเซิ้งบั้งไฟ เชิ้งกระติบ เซิ้งสวิง เซิ้ง สาวไหม เซิ้ง ข้าวปุ้น เซิ้งกระด้ง เซิ้งกระหยัง เซิ้งสาละวัน เซิ้งแหย่ไข่ มดแดง ฯลฯ “รำ” คือ การร่ายรำหรือฟ้อนของคนภาคกลาง “ลำ” คือ มีความหมายว่า "ขับร้อง"
ท่าฟ้อนพื้นบ้านอีสาน 1. ท่าฟ้อน ท่าฟ้อนพื้นบ้านอีสาน 1. ท่าฟ้อน “มือ” ท่ามือ "ม่อนท่าวใย" คือมีความเป็นอิสระ การจีบมือ นิ้วโป้งกับนิ้วชี้ไม่จดกัน แพนฟ้อน เป็นลักษณะการฟ้อนโดยทิ้งแขนไปด้านหลังเหมือนเวลานกยูง ลำแพน หรือคล้ายกับท่านกยูงฟ้อนหาง “เท้า” ท่าซอยเท้า คือ การเปิดส้นเท้าเล็กน้อย ย่อเข่ายกส้นเท้าขึ้น เช่น การรำ เซิ้ง คนฟ้อนหย่อนขา ลักษณะการฟ้อนในขบวนเซิ้งบั้งไฟหรือขบวนฟ้อนต่างๆ ของ ชาวอีสานนิยมฟ้อนโดยยกขาเตะไปข้างหน้า ก้าวไขว่และขย่มตัวซึ่งเป็นลีลาที่เกิดการ เคลื่อนไหวที่นุ่มนวลขึ้น “ลำตัว” มีความเป็นอิสระสูง ฟ้อนแอ่น หรือ แอะแอ่นฟ้อน การฟ้อนแอ่นตัวมา ข้าง หลังนิยมโยกตัว และย้อนหรือย่อเข่าขึ้นลง เป็นการฟ้อนของหมอลำ ( ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ . 2532 : 92)
ท่ารำภาคอีสานแบ่งออกเป็น 48 ท่า ดังนี้ 14. ท่ากวยครูมวยซิต่อย 15. ท่ากินรีเที่ยวชมดอกไม้ 16. ท่านกยูงรำแพน 17. ท่าผีไท้ลงข่วง 18. ท่าพายเฮือส่วง 19. ท่าลำเกี้ยวกันพวกหมอลำคู่ 20. ท่าลำหมู่ออกท่าลำเพลิน 21. ท่ามโนราห์เหาะเหิรบินบนขึ้นเลิ่น 22. ท่ารำโทนสมัยก่อน 23. ท่าเสือออกเหล่า 24. ท่าเต่าลงหนอง ท่าแฮ้งตากขา ท่ากาตากปีก ท่าหลีกแม่ผัว ท่าคว้าหำปู ท่าไกวอู่กล่อมหลาน ท่าหนุมานคลุกฝุ่น ท่าตุ่นเข้าอู่ ท่าหนุมานถวายครูพิเภก ท่าหนุมานถวายแหวน ท่าแห่บั้งไฟแสน ท่าเมาเหล้า ท่าลำเจ้าชู้หยิกหยอก ตาหวาน ท่านักเลง
ท่ารำภาคอีสานแบ่งออกเป็น 48 ท่า ดังนี้ 25 แอะแอ่นแหงงมือให้เรียบ 26. ท่าปลาชะโดลงคลอง 27. ท่าท่านักมวย 28. ท่างัวชนกัน 29. ท่าคนโบราณเลื่อยแป้น 30. ท่าสาวเตะกล้า 31. ท่าผู้เฒ่าจับอู่โหย่นหลาน 32. ท่าแม่ลูกอ่อนกินนม เป็นต้น ท่ารำภาคอีสานแบ่งออกเป็น 48 ท่า ดังนี้