ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Your Investment Partner
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
1.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
ภาษีอากร.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
สัญญาก่อสร้าง.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
การหักภาษี ณ ที่จ่ายในธุรกรรม Bond Switching
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ภาพรวมและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความตกลง FATCA
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การบริหารงานคลังสาธารณะ
กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
การวางแผนกำลังการผลิต
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT )

ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91) เป็นภาษีทางอ้อม ที่จัดเก็บแทนภาษีการค้า (เริ่มบังคับใช้ 1 ม.ค. 2535 พร้อมกับภาษีมูลค่าเพิ่ม) เป็นภาษีที่จัดเก็บจากการบริโภคและการประกอบกิจการ เฉพาะอย่าง เนื่องจากกิจการบางประเภทถ้าใช้ระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วอาจจะจัดเก็บได้ไม่เหมาะสมหรือไม่มี ประสิทธิภาพพอ กิจการที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะแล้วไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อีก

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ต้องมี 3 องค์ประกอบ 1. บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือ นิติบุคคล บริษัท สมาคม องค์การ ต่างๆ 2. ประกอบกิจการในราชอาณาจักร 3. ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) ธนาคาร ให้กู้ยืม ค้ำประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา ซื้อขายตั๋วเงิน การประกอบธุรกรรมเยี่ยงธนาคาร

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ (ตัวแทนซื้อขายหลักทรัพย์) ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ (การให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจํานอง อสังหาริมทรัพย์เป็นทางการค้าปกติ)

ฐานภาษีและอัตราภาษี (ม.91/5-91/6) กิจการ ฐานภาษี ร้อยละ กิจการธนาคาร ธุรกิจเงินทุนหลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ และธุรกิจเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ - ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ กำไรก่อนหักรายจ่ายจากการซื้อ-ขายตั๋วเงินแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ - กำไรก่อนหักรายจ่ายจากการแลกเปลี่ยนเงิน การออกตั๋วหรือส่งเงินไปต่างประเทศ 3.0  

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) 3. การรับประกันชีวิต (ตามกฏหมายว่าด้วยการประกันชีวิต)

กิจการ ฐานภาษี ร้อยละ กิจการรับประกันชีวิต รายรับจากดอกเบี้ย รายรับค่าธรรมเนียม รายได้จากค่าบริการ 2.5

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) การรับจำนำ ตามกฏหมายว่าด้วยโรงรับจำนำ

กิจการ ฐานภาษี อัตราร้อยละ กิจการโรงรับจำนำ - ดอกเบี้ย - ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ - เงินหรือสินทรัพย์ที่ได้จากการขายของหลุดจำนำ 2.5

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) กิจการที่มีการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคาร พาณิชย์ หรือมีรายรับจากการประกอบกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ เช่น ให้กู้ยืมเงิน ค้ำประกัน ขายตั๋วเงิน

ฐานภาษีและอัตราภาษี (ม.91/5-91/6) กิจการ ฐานภาษี ร้อยละ ธุรกิจเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ - ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ กำไรก่อนหักรายจ่ายจากการซื้อ-ขายตั๋วเงินแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ - กำไรก่อนหักรายจ่ายจากการแลกเปลี่ยนเงิน การออกตั๋วหรือส่งเงินไปต่างประเทศ 3.0  

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) 6. การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นการค้าหรือหากำไร อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ที่ดิน ทรัพย์อันติดกับที่ดิน หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน รวมทั้งสิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดิน การขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไรที่ผู้ขายกระทำเป็นปกติธุรกิจ ผู้ขายต้องยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ตามแบบ ภธ. 01) ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ (วันที่มีรายรับจากการขายอสังหาริมทรัพย์)

การขายอสังหาริมทรัพย์ที่มีลักษณะในการทำกำไร ได้แก่ 1 ) การจำหน่ายที่ดินติดต่อกันเป็นแปลงย่อย จำนวนตั้งแต่ 10 แปลงขึ้นไป โดยให้คำมั่นหรือการ แสดงออกโดยปริยายว่าจะจัดให้มีสาธารณูปโภค หรือบริการสาธารณะ หรือปรับปรุงที่ดินนั้นให้เป็นที่อยู่อาศัย เป็นที่ประกอบการพาณิชย์ หรือที่ประกอบการอุตสาหกรรม เช่น บริษัทซื้อที่ดินมาแปลงใหญ่ พื้นที่ 4 ไร่ แล้วมาแบ่งออกเป็น 20 แปลงย่อย เรียกว่าเป็นการจัดสรรที่ดิน อสังหาริมทรัพย์เพื่อค้าในทางกำไร

3) การขายอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อขาย 2) การขายอาคารชุดโดยเจ้าของ โครงการ ซึ่งต้องจดทะเบียนเป็น อาคารชุดตามกฎหมายอาคารชุด 3) การขายอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อขาย เช่น การขายบ้าน ทาวน์เฮ้าส์ อาคาร พาณิชย์ อาคารสำนักงาน ซึ่งปลูก สร้างเพื่อขาย โดยผู้ขายต้องนำมูลค่าขายที่ดินอันเป็นที่ตั้งอาคารดังกล่าวมารวมเสียภาษีธุรกิจเฉพาะด้วย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการแบ่งแยกหรือไม่ก็ตาม

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองมาเกิน 5 ปี การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ขายมีชื่อในทะเบียนบ้าน เป็นผู้อยู่อาศัย เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี การขายหรือถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ การขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางมรดก

กิจการ ฐานภาษี อัตราภาษี ร้อยละ การค้าอสังหาริมทรัพย์ - รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ - ราคาซื้อขายจริง /ราคาประเมิน แล้วแต่ราคาใดสูงกว่า (กรณีผู้ขายเป็นนิติบุคคล) 3

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) 7. การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ ปัจจุบัน ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะตามพระราชกฤษฎีกา

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) 8. กิจการซื้อและขายคืนหลักทรัพย์ (REPO : Repurchase agreement) REPO คือ ธุรกรรมซื้อคืน หรือการประกอบธุรกิจซื้อหรือขายคืนหลักทรัพย์ โดยมีตราสารหนี้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน และมีสัญญาซื้อหรือขายคืน  ตัวอย่าง ในวันที่ 1 ตุลาคม 2549 บริษัท A ตกลงให้บริษัท B กู้เงิน จำนวน 200,000 บาท โดยที่บริษัท B นำพันธบัตรรัฐบาลมาเป็นหลักประกัน และสัญญาจะคืนเงินจำนวนนี้พร้อมกับดอกเบี้ยอีก 10 % ในอีก 45 วันข้างหน้า ดังนั้น บริษัท A จะต้องคืนเงินให้กับบริษัท B ในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 เป็นจำนวนเงิน 202,465.75 บาท (ดอกเบี้ย = 2,465.75 บาท) 

กิจการ ฐานภาษี อัตราภาษี ร้อยละ 0.1 (ยกเว้น) 3.0 การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ - รายรับก่อนหักรายจ่ายใด ๆ 0.1 (ยกเว้น) การซื้อ ขาย คืนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตจากคณะอนุกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) - กำไรก่อนหักรายจ่าย (แต่ไม่รวมถึง ดอกเบี้ย เงินปันผลหรือประโยชน์ใด ๆ ที่ได้จากหลักทรัพย์) 3.0 **** อัตรานี้ยังไม่ได้รวมภาษีเพื่อท้องถิ่นอีก 10% ของภาษีธุรกิจเฉพาะ ตัวอย่างเช่น กิจการโรงรับจำนำต้องเสียภาษีรวม 2.5%+0.25%=2.75%

กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/2) 7. การขายหลักทรัพย์ (ปัจจุบันยกเว้น) 9. การประกอบกิจการอื่น เช่น ธุรกิจแฟ็กเตอริ่ง(ธุรกิจรับซื้อ บัญชีลูกหนี้การค้า) , ธุรกิจบัตรเครดิต

กิจการ ฐานภาษี อัตราภาษี ร้อยละ 3.0 ธุรกิจ Factoring - ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการ 3.0 ธุรกิจ บัตรเครดิต - ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม (ค่าบริการ (เสีย vat)) **** อัตรานี้ยังไม่ได้รวมภาษีเพื่อท้องถิ่นอีก 10% ของภาษีธุรกิจเฉพาะ ตัวอย่างเช่น กิจการโรงรับจำนำต้องเสียภาษีรวม 2.5%+0.25%=2.75%

การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/3) กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/3) กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์ เฉพาะ การกู้ยืมเงิน กิจการของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ (ม.91/3) กิจการของการเคหะแห่งชาติ (เฉพาะการขาย – เช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์) กิจการรับจำนำของรัฐบาล กระทรวง ทบวง ก.ท.ม. เทศบาล กิจการอื่นที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา การขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม (บอย.) EXIM BANK ปสย. สปส. ฯลฯ

รายรับที่ไม่ต้องนำไปคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ รายรับจากการประกอบกิจการวิเทศธนกิจ BIBF (ให้บริการกู้ยืมเงินระหว่างประเทศ) รายรับจากการประกอบกิจการเยี่ยงธนาคาร กรณี -การให้บริษัทในเครือกู้ยืมเงินกันเอง -ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกองทุนสะสมพนักงาน ฯลฯ

การจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ผู้ที่ประกอบกิจการดังกล่าวข้างต้นต้องยื่นคำขอ จดทะเบียน (แบบ ภธ.01) ภายใน 30 วัน นับแต่ วันที่เริ่มประกอบกิจการ ใน ก.ท.ม. หรือ ณ สำนักงานภาษีสรรพากรพื้นที่ (สพท.),ในต่างจังหวัด ณ ที่ว่าการอำเภอหรือ สำนักงานสรรพากรจังหวัด

การยื่นเสียแบบและขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ การยื่นแบบ และการชำระภาษี (แบบ ภธ.40) การขอคืนภาษี ภายใน 3 ปี นับแต่วันพ้นกำหนดยื่นแบบแสดงรายการภาษี การจัดทำรายการแสดงรายรับ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีSBT มีหน้าที่ทำรายงานแสดงรายรับก่อนหัก รายจ่ายที่ต้องเสียภาษี และรายรับที่ไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษี (ลงรายการในรายงานภายใน 3 วันทำการนับแต่วันที่มีรายรับ) ยื่นแบบภธ.40 ภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป

การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ = ฐานภาษี x อัตราภาษี ภาษีธุรกิจเฉพาะกิจการธนาคาร รายรับจากดอกเบี้ย รายได้ค่าธรรมเนียม รายได้ค่าบริการ x อัตราภาษี 3%

การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ = ฐานภาษี x อัตราภาษี ภาษีธุรกิจเฉพาะกิจการขายอสังหาริมทรัพย์ รายรับจากการขายบ้าน รายรับจากการขายทาวน์เฮ้าส์ รายรับจากการขายที่ดิน x อัตราภาษี 3%

ตัวอย่าง บริษัท ตะวันแลนด์ ประกอบธุรกิจขายบ้านจัดสรรพร้อมที่ดิน ได้ขายบ้านไป 3 หลัง ราคาหลังละ 2,500,000 บาท บริษัทจะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะเท่าใด

ตัวอย่าง บริษัท Sunny Land and House ประกอบธุรกิจขายบ้านจัดสรรพร้อมที่ดิน ได้ขายบ้านไป 3 หลัง ราคาหลังละ 2,500,000 บาท บริษัทจะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะเท่าใด วิธีคำนวณ 1) รายรับจากการขาย 7,500,000 (2,500,000 x 3 หลัง) อัตราภาษี SBT 3% ภาษี SBT 225,000 บริษัทต้องเสียภาษีท้องถิ่นอีก 10% จากภาษีธุรกิจเฉพาะ = 10% x 225,000 = 22,500 บาท