ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
Advertisements

ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางและการขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ กสธ.ปี 2561
สรุปผลการตรวจราชการฯ
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2561 นายนุกูลกิจ พุกาธร รองผู้อำนวยการกองแผนงาน โดย

แนวคิดและหลักการ การตรวจราชการ - เป็นการตรวจติดตามที่มุ่งผลสัมฤทธิ์เชิงยุทธศาสตร์ ทั้งเรื่องที่เป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาลในด้านสุขภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวง และแผนงาน โครงการสำคัญต่างๆ เรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่หรือเรื่องที่ก่อความเดือดร้อนเสียหายแก่ประชาชน และมุ่งเน้นการรายงานผลงานที่แสดงถึงผลสัมฤทธิ์ของหน่วยรับตรวจ - มุ่งเน้นการบูรณาการการทำงานร่วมกัน และประสานเชื่อมโยงในทุกระดับ เพื่อความคล่องตัวในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญต่างๆ รวมทั้งแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ได้สอดคล้องกับความต้องการด้านสุขภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน

การขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ 1. ทีมตรวจราชการปี 61 2. M&E ต่อเนื่อง ทุกระดับ ส่วนกลาง : กรม / กองใน สป. กำหนด Focal Point ให้ ครบถ้วนตามประเด็น/ตัวชี้วัดที่ รับผิดชอบ ( เน้นครบทุก ประเด็นแต่ไม่จำเป็นต้องครบทุก เขต) M&E ตลอดเวลา ลงพื้นที่เท่าที่จำเป็น M&E กลไก ระดับเขต กลไกระดับ กรม/กอง HDC พัฒนาศักยภาพทีม คทง.กำกับติดตามและตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ทีมตรวจราชการในพื้นที่ ศูนย์วิชาการในพื้นที่ บุคลากรในเขต /จังหวัดที่ได้รับมอบหมาย ตรวจราชการในพื้นที่และจัดทำรายงาน *Central Cockpit คกต. ประชุม สตร. คกก.ขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ

กลไกขับเคลื่อนการตรวจราชการที่สำคัญ 1. คกก.ขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ กสธ. ประเด็นเชิงบริหาร ประชุมสำนักตรวจราชการฯ นำเสนอความก้าวหน้า PA ปี 61 (ทุกเดือน) ตัวชี้วัดตรวจราชการที่นอกเหนือจากPA (ทุกไตรมาส) 2. คณะทำงานกำกับติดตาม และตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ผตร. PA - Focal Point 3. คณะกรรมการกำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการ (คกต.) คณะ 1-4

คณะกรรมการ/คณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจราชการ กรรมการที่เกี่ยวข้อง กับกรมอนามัย บทบาทหน้าที่ 1. คกก.ขับเคลื่อนระบบตรวจราชการ กสธ. รองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย และผอ.กผ. เน้นเชิงบริหารจัดการ (ขับเคลื่อน กำกับ ติดตาม แก้ปัญหาเชิงระบบ) 2. คกก.กำหนดแผนและติดตามการตรวจราชการ (คกต.) ผอ.กผ. และผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดตรวจราชการ กำหนด Inspection Guideline ชี้แจงแนวทางตรวจ/ติดตามความก้าวหน้า สรุปผลการตรวจ 3. คทง.กำกับติดตามและตรวจสอบคุณภาพข้อมูล ผู้ประสานงานการติดตามประเมินผลและติดตามข้อมูล จาก กผ. กำหนดแนวทางการติดตามและตรวจสอบคุณภาพข้อมูล รวบรวม เผยแพร่

PA ปลัด

PA ประเด็นตามบริบทเขตสุขภาพ*

แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 PP&P Excellence Service Excellence People Excellence สำนักนายกรัฐมนตรี คณะ 1 คณะ 2 คณะ 3 คณะ 4 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ การพัฒนาระบบบริการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการสนับสนุน การจัดบริการสุขภาพ การตรวจราชการ แบบบูรณาการ 1.1 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.2 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 1.3 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ 1.4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 1.5 การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 2.1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 2.2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ - Health Outcome - Service Outcome 3.1 ระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 3.3 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 4.1 การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน 4.2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ

ประเด็นการตรวจราชการปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมอนามัย คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ 1. การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย อัตราส่วนการตายมารดาไทย (ไม่เกิน 20 ต่อ แสนการเกิดมีชีพ) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ร้อยละ 85) ร้อยละของเด็ก 0-5 สูงดีสมส่วนและส่วนสูง เฉลี่ยที่อายุ 5 ปี (ร้อยละ 54) 2. การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 4) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) (ร้อยละ 54) 5) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (ไม่ เกิน 40 ต่อประชากรหญิง อายุ 15-19 ปี 1,000 คน)

ประเด็นการตรวจราชการปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมอนามัย คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ 3. การพัฒนาสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ 6) ร้อยละตำบลที่มีระบบ Long Term Care ผ่าน เกณฑ์ (ร้อยละ 60) 4. การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 7) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital

ประเด็น การตรวจราชการปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมอนามัย คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการสุขภาพ ตัวชี้วัด Monitor ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ร้อยละ 68) ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ 30 -44 ปี มี BMI ปกติ (ร้อยละ 55) ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมี ประสิทธิภาพและยั่งยืน (ร้อยละ 90 ของ จังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมอนามัย (สำนักส่งเสริมสุขภาพ / สำนักโภชนาการ / สำนักทันตสาธารณสุข / สำนักอนามัยผู้สูงอายุ / สำนักอนามัยเจริญพันธุ์/ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม/ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ)

แนวทางการตรวจราชการ Inspection Guideline ประกอบด้วย การวิเคราะห์สถานการณ์ ประเด็นตรวจราชการที่ มุ่งเน้น เป้าหมาย / ผลลัพธ์ที่ ต้องการ มาตรการดำเนินงานที่ สำคัญ แนวทางการตรวจติดตาม Template ตัวชี้วัด เป็นกรอบหลัก ในการตรวจติดตาม วิเคราะห์ และเขียนรายงานผลการตรวจราชการ (แบบ ตก. 1,2) (ตาม template กสธ.) และ กำหนด Small Success รายไตรมาส (เพื่อการกำกับติดตามความก้าวหน้าได้อย่างเหมาะสม ในการตรวจราชการและการสรุปผลการตรวจแต่ละรอบ)

จัดทำรายงานผลการตรวจฯ ภายใน 7 วัน Report แบบรายงานผลการตรวจราชการระดับจังหวัด(ตก.1)/ระดับเขต(ตก.2) ( เน้นส่วนสำคัญ /การวิเคราะห์สังเคราะห์และข้อเสนอแนะ) สถานการณ์ การดำเนินการตามมาตรการสำคัญ ประเด็นสำคัญต่อการขับเคลื่อนนโยบาย หรือการดำเนินงาน ไม่ประสบความสำเร็จ (key risk area /key risk factor) ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ สิ่งที่ผู้ทำหน้าที่ตรวจรับไปดำเนินการ/ ประสานต่อ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย นวัตกรรม หมายเหตุ ส่วนของข้อมูลเชิงปริมาณ ไม่กำหนดในฟอร์ม (ในส่วนของหน่วยรับตรวจมีอยู่แล้ว) เน้นการวิเคราะห์ผล ส่วนการM&E ใช้ข้อมูลจาก Central cockpit เนื่องจากการตรวจราชการแต่ละจังหวัด ห้วงเวลาของข้อมูลไม่ตรงกัน จัดทำรายงานผลการตรวจฯ ภายใน 7 วัน กองตรวจราชการพัฒนาระบบรายงานผลการตรวจราชการ (ต่อยอดจากปี60 ) รายงานผลการตรวจราชการผ่าน website

ผู้ทรงคุณวุฒิ ผอ.ส่วนกลาง/ศูนย์อนามัย ผู้เชี่ยวชาญส่วนกลาง/ศูนย์อนามัย นวก.จากศูนย์อนามัย

ข้อมูลสนับสนุนการตรวจราชการ รอบที่ 1 รอบ 2 ข้อมูลสนับสนุนการตรวจราชการ พื้นที่เตรียมข้อมูลรอบ 3 เดือน(ต.ค.-ธ.ค. 60) เพื่อรับการตรวจ พื้นที่เตรียมข้อมูลรอบ 6 เดือน(ต.ค.60 – มี.ค.61) เพื่อรับการตรวจ ข้อมูลเพื่อสรุปผลการตรวจราชการ ใช้ข้อมูลรอบ 6 เดือน (ต.ค.60 – มี.ค. 61) ใช้ข้อมูลรอบ 9เดือน (ต.ค.60 – มิ.ย. 61)

แนวคิดและหลักการ การนิเทศงานกรมอนามัย เน้นการนิเทศงานเชิงคุณภาพที่มุ่งหาคำตอบในการแก้ปัญหามากกว่าเชิงปริมาณ ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญ การติดตาม ประเมินกระบวนการปฏิบัติงานตลอดจนผลลัพธ์ตามภารกิจของหน่วยงาน นโยบาย เป้าหมาย แผนงาน และแนวปฏิบัติ วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค สาเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงาน รายงานผล และข้อเสนอแนะ ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กรอบการนิเทศงานกรมอนามัย 1) โครงการพระราชดำริ ๕ โครงการ 2) โครงการสำคัญกรมอนามัย ๑4 โครงการ 1. โครงการสำคัญ ตามนโยบาย 1) ตัวชี้วัดตรวจราชการปี ๖๑ (เน้น 7 ติดตาม ๓) 2) ตัวชี้วัดตามแผนยุทธ์ฯ ๕ ปี ๒๑ ตัวชี้วัด ๓) ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) หน่วยงานภูมิภาค 2. ตัวชี้วัดกระทรวง / กรมอนามัย 1) การเบิกจ่ายงบประมาณตาม หมวดรายจ่าย 2) บุคลากร 3) KISS 3. การบริหารจัดการ (ปัญหา อุปสรรค) เฉพาะประเด็นที่เป็นปัญหาของหน่วยงานส่วนภูมิภาค

องค์ประกอบทีมนิเทศงานกรมอนามัย รวม 1. รองอธิบดีกรมอนามัยที่ได้รับ มอบหมาย หัวหน้าทีม 2. ผู้ทรงคุณวุฒิ ๑ ท่าน รวมไม่เกิน 10 ท่าน ๓. ผู้แทน Cluster 2-3 ท่าน (เฉพาะ ประเด็นที่เป็นปัญหา) ๔. ผอ.หน่วยงานสายสนับสนุน 2-3 ท่าน (กจ./กพร./กค./สขรส./กผ.) ๕. หัวหน้ากลุ่ม บรย. ส่วนกลาง/ศอ. (เฉพาะประเด็นที่เป็นปัญหา) ๖. ผู้ที่หัวหน้าทีมนิเทศพิจารณาให้ร่วม ทีมนิเทศ ๗. ผู้อำนวยการกองแผนงานหรือ ผู้แทน เลขานุการ

สาระสำคัญการนิเทศงานกรมอนามัย ปี 2561 กำหนดนิเทศงาน ปีละ ๑ ครั้ง เมษายน – พฤษภาคม 25๖๑ ระยะเวลา ๒ วัน (วันที่ ๑ เก็บข้อมูล วันที่ ๒ นำเสนอผลจากการนิเทศ) รูปแบบการนิเทศงาน แบบไขว้หน่วยงาน เน้นการนิเทศเชิงคุณภาพ เน้นการค้นหา คำตอบแนวทางแก้ไขปัญหาในพื้นที่

ระบบสนับสนุนการตรวจราชการฯ ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตรวจราชการ - มี Central Cockpit ของกองตรวจราชการ - มีระบบ DOH Dashboard ของกองแผนงาน กรมอนามัย - มี website : /http://inspection.anamai.moph.go.th เป็นลักษณะ single window และสามารถใช้งานกับ smart phone ทุกประเภท ๒. คู่มือการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขและนิเทศงานกรมอนามัย ๓. จัดตั้งกลุ่ม Line ชื่อ : ตรวจ/นิเทศ DOH - เพิ่มช่องทางและสร้างการสนทนา/ส่งข้อมูลหรือข้อความแลกเปลี่ยน ในกลุ่มโดยเฉพาะการตรวจราชการ ๔. จัดตั้งกลุ่ม Facebook กลุ่ม : ตรวจราชการนิเทศงานกรมอนามัย - เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร และใช้ทำกิจกรรม ตลอดจนรูปภาพ ร่วมกับกลุ่มผู้ทำหน้าที่ตรวจกรมและผู้เกี่ยวข้อง ๕. ระบบข้อมูลการเฝ้าระวังฯ เพื่อชี้เป้าสถานการณ์ในพื้นที่

Thank You !