สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
Advertisements

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
Student Centered Learning
ปรับปรุงวิธีการปฏิสัมพันธ์ กับนักศึกษามากขึ้น
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
21st Century Learning and Medical Education
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
E- Learning e- Learning นพ. สิทธิโชค อนันตเสรี ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
Subtitle Goes Hre PBL Problem Based Student Centered Small Group.
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
กฎหมายการศึกษาไทย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
แนวทางการจัดทำรายงาน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
รายงานการประเมินตนเอง
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
PRE 103 Production Technology
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
พระพุทธศาสนา.
อาจารย์ ศิริรัตน์ หวังดี
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
กระบวนการเรียนการสอน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ที่สอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning  (PBL) กับการสอน แบบวิธีปกติ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) วิจัยโดย ดาราพร ชูวงษ์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

ปัญหาในการวิจัย การจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน เน้นการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษาในมาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่านักศึกษา ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่านักศึกษามีความสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพของนักศึกษา มาตราที่ 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรม  ให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของนักศึกษาโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล   คือนักศึกษาแต่ละคนมีศักยภาพในการเรียนรู้ ความสนใจ และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน  ซึ่งนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ผู้สอนหรือผู้ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องคำนึงถึงเพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนได้เต็มศักยภาพและสามารถเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น (กรมวิชาการ) การเรียนอาชีวศึกษา

ปัญหาในการวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem –based Learning  (PBL)ซึ่งข้าพเจ้าได้ยึดหลักของ (มัณฑรา ธรรมบุศย์, 2545)ได้แบ่งลักษณะที่สำคัญของการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นหลักไว้ 8 ข้อคือ 1. ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง (student-centered learning) 2. การเรียนรู้เกิดขึ้นในกลุ่มผู้เรียนที่มีขนาดเล็ก 3. ครูผู้สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คำแนะนำ (guide) 4. ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ 5. ปัญหาที่นำมาใช้มีลักษณะคลุมเครือไม่ชัดเจน ปัญหา 6. ปัญหาอาจมีคำตอบได้หลายคำตอบหรือมีทางแก้ไขปัญหาได้หลายทาง (ill- structured problem) 7. ผู้เรียนเป็นคนแก้ปัญหาโดยการแสวงหาข้อมูลใหม่ ๆ ด้วยตนเอง (self-directed learning) 8. ประเมินผลจากสถานการณ์จริง โดยดูจากความสามารถในการปฏิบัติ (authentic assessment)

กลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยแบ่งเป็น กลุ่มทดลอง สอนด้วย วิธีการสอนแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem –based Learning  (PBL) ได้แก่ นักศึกษา ปวช. 2/1, 2/2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 80 คน กลุ่มควบคุม สอนด้วยวิธีปกติ ได้แก่ นักศึกษา ปวช. 2/3, 2/5 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 80 คน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วย ในรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ที่สอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem –based Learning (PBL) กับการเรียนแบบวิธีปกติ

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 เรื่องการพิมพ์พัฒนาความเร็วและความแม่นยำ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL)

แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รูปแบบการจัดการเรียนรู้ใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL)

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem –based Learning  (PBL) ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการพิมพ์พัฒนาความเร็วและความแม่นยำ (เป็นข้อสอบอัตนัยให้นักศึกษาพิมพ์ตามแบบ) แบบบันทึกจำนวนคำที่นักศึกษาพิมพ์และคะแนน เรื่อง การพิมพ์พัฒนาความเร็วและความแม่นยำซึ่งได้จัดแบ่งช่วงจำนวนคำที่พิมพ์ได้ต่อนาที

สถิติที่ใช้ในการวิจัย หาค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการพิมพ์พัฒนาความเร็วและความแม่นยำภาคเรียนที่ 1/2557 วิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทดสอบ ค่าที t-test ของนักศึกษา 2 กลุ่ม เพื่อดูความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5

การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดสอบ Post-Test Group กลุ่ม ตัวอย่าง คะแนน ต่ำสุด Minimum สูงสุด Maximum ค่าเฉลี่ย 𝑋 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ทดสอบค่า t-test กลุ่มทดลอง 80 5 10 7.56 1.34 10.08 กลุ่มควบคุม 4 9 5.73 0.99

สรุปผลการวิจัย การวิจัย เรื่องพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) นักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่ 2 มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL)สมมติฐานการวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) ในรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 จะส่งผลให้นักศึกษามีการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในกลุ่มทดลองรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – basedLearning  (PBL) มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าผู้เรียนในกลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยวิธีแบบปกติ ซึ่งค่าเฉลี่ย ( = 7.56) และเมื่อทดสอบค่าที (t-test = 9.78) ผลปรากฏว่าแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5

ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ - ผู้สอนควรศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) และการจัดกิจกรรมอย่างถูกต้อง ตามขั้นตอน

ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 1. ควรวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) ในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป 2. ควรมีการสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนกลุ่มทดลอง ที่เรียนด้วย วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem – based Learning (PBL) 3. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับความคงทนในการเรียนพิมพ์ดีด

จบการนำเสนอ สวัสดีค่ะ