คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ จากการศึกษาพบว่า ในจำนวนประชากรในกลุ่มผู้ต้องขังทั้งหมด 18,785 คน พบว่าจากการคัดกรองด้วยวิธีสอบถาม ในกลุ่มผู้ต้องขังที่มีคะแนน ≥3 มีจำนวน 2,817 คน ประกอบด้วยผู้ต้องขังชาย จำนวน 2,418 คน (85.83%) จำนวนผู้ต้องขังหญิง จำนวน 399 (14.16%) และ ในจำนวน 2,817 คน ได้รับการ x-ray และผลการอ่านฟิล์มx-rayโดยแพทย์ผู้มีประสบการณ์ด้านวัณโรค พบว่ามีผล x-ray ผิดปกติ และสงสัยวัณโรค จำนวน 846 คน คิดเป็นร้อยละ 34.9 และดำเนินการการตรวจเสมหะเพิ่ม (AFB) โดยเก็บเสมหะแบบ Collectจำนวน 2 ตัวอย่าง เพื่อวินิจฉัยวัณโรค ผลการx-ray พบว่า ปอดปกติจำนวน 1,171 คน คิดเป็นร้อยละ 27 ผลการx-ray พบว่า ปอดผิดปกติอื่นที่ไม่สงสัยวัณโรคประกอบด้วย - ปอดอุดกั้นเรื้อรัง จำนวน 262 คน คิดเป็นร้อยละ 27 - ถุงลมโป่งพอง จำนวน...271......คน คิดเป็นร้อยละ 28 - หัวใจโตและผิดปกติอื่นๆ จำนวน..267........คน คิดเป็นร้อยละ 27.5 - ผลการตรวจเสมหะ (AFB) ให้ผลบวก (Smear Positive) และนำสู่ระบบการรักษาและนำเข้า DOT จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 2.1 - ผลการตรวจเสมหะ (AFB) ให้ผลลบ (Smear Negative) แต่อาการเข้าได้กับวัณโรค และผลฟิล์มx-ray ผิดปกติสำหรับเป็นวัณโรค ได้รับการรักษาวัณโรคแบบ New M - จำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 18.1 การสำรวจความชุกของวัณโรคในกลุ่ม ผู้ต้องขังในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 9 พญ.ผลิน กมลวัทน์, พ.บ.,กัลยาณี จันธิมา, สส.ม., ปิยะพร มนต์ชาตรี พยบ. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ ผู้ต้องขังของเรือนจำ มีอัตราป่วยวัณโรคที่สูงกว่าประชาชนทั่วไปจากรายงานการค้นหาผู้ป่วยเป็นวัณโรคในเรือนจำทั่วประเทศ ระหว่างปีพ.ศ.2548-2550 พบความชุกของการป่วยเป็นวัณโรคปอดเท่ากับ 1,232, 961, และ 840 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ (1) เนื่องจากมีการแพร่กระจายติดต่อกันเองระหว่างผู้ต้องขัง เพราะผู้ต้องขังต้องอยู่อย่างแออัด การหมุนเวียนระบายอากาศได้น้อย ประกอบกับผู้ต้องขังมีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคได้ง่าย เช่น มีการติดเชื้อเอดส์ ภาวะทุพโภชนาการ เป็นต้น ดังนั้น การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มนี้จึงมีความสำคัญมาก ช่วยให้ได้รับการรักษาในการป่วยระยะเริ่มแรก ลดการแพร่กระจายเชื้อ ลดอัตราการเสียชีวิต รวมทั้งลดปัญหาการดื้อยาวัณโรค วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวาง เพื่อหาความชุกของวัณโรคในกลุ่มผู้ต้องขัง ของเรือนจำ ในเขตเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 9 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างประเทศไทย เลือกพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาและชัยภูมิ ในเรือนจำทั้งหมด 8 แห่ง ด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกโดยรถเอกซเรย์เคลื่อนที่ ในประชากรผู้ต้องขังทุกรายที่สงสัยวัณโรค จำนวน 2,817 รายในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง ธันวาคม พ.ศ.2557 เก็บข้อมูลโดยการซักประวัติโดยใช้แบบสอบถาม (แบบคัดกรอง) ตามแนวทางของ WHO หากผู้ถูกคัดกรองมีคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 3 จะตรวจคัดกรองเพิ่มโดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกโดยรถเอกซเรย์เคลื่อนที่แบบดิจิตอล ถ้าผลการตรวจ ถ่ายภาพรังสีทรวงอกผิดปกติ และเข้าข่ายสงสัยวัณโรค จะต้องได้รับการตรวจเสมหะ (AFB) โดยเก็บเสมหะแบบ Collect จำนวน 2 ตัวอย่าง วัตถุประสงค์ เพื่อหาความชุกของวัณโรคในกลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำในเขตเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 9 ผลการสำรวจ ตามการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าความชุกของวัณโรคในกลุ่มผู้ต้องขัง เท่ากับ 697ต่อประชากรแสนคน สูงกว่าความชุกของวัณโรคในประชากรทั่วไปในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 9 เท่ากับ 10.9 เท่า (64ต่อประชากรแสนคน ) และสูงกว่าความชุกของวัณโรคในผู้ต้องขังในเรือนจำของไทย(614ต่อประชากรแสนคน ) 1.2 เท่า การนำไปใช้ประโยชน์ 1.ผลที่ได้จากการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการควบคุมป้องกันและพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการควบคุมวัณโรคในเรือนจำให้มีประสิทธิภาพต่อไป 2. รณรงค์ให้เห็นถึงความสําคัญของวัณโรคโดยเร่งรัดดำเนินงานค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่เสี่ยงและประชากรกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะผู้ต้องขังในเรือนจำ ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอัตราป่วยสูง ในเรือนจำผู้ต้องขังมีการเคลื่อนย้ายเข้าออก ควรเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วขึ้นและรีบรักษาให้หาย เป็นมาตรการสำคัญที่ส่งผลต่อการลดการป่วย ตายและการดื้อยา สรุปผล ดังนั้น ควรให้ความสำคัญ เรื่องวัณโรคในกลุ่มผู้ต้องขัง และควรมีระบบ การคัดกรองวัณโรคอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการดูแลรักษา และการทำ DOT เพื่อเพิ่มความสำเร็จของการรักษา และจากการศึกษาครั้งนี้ พบว่ามีผลการถ่ายภาพรังสีทรวงอกที่ผิดปกติเป็นจำนวนมาก ที่มีความสัมพันธ์การสูบบุหรี่ จึงควรมีการรณรงค์การเลิกสูบบุหรี่ เพื่อตัดปัญหาด้านสาธารณสุขตลอดจนความเสี่ยงต่อการเกิดวัณโรคดื้อยาหลายขนานต่อไป เอกสารอ้างอิง 1. ศิรินภา จิตติมณี, และ นิภา งามไตรไร. (2552). แนวทางการเร่งรัดการควบคุมวัณโรคในเรือนจำของประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. .