สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2 : ความหมายของการพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
การพัฒนาสังคม Social Development
ระบบเศรษฐกิจ.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Law as Social Engineering
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
การพัฒนาสังคม Social Development
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2 : ความหมายของการพัฒนา Industrial Sociology ครั้งที่ 2 : ความหมายของการพัฒนา 5 : 14 ก.พ. 58

คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา Change การเปลี่ยนแปลง Progress ความก้าวหน้า Innovation นวัตกรรม Modernization ความทันสมัย Expansion การขยายตัว Wealth รุ่งเรือง/มั่งคั่ง Transformation การเปลี่ยนรูป Growth ความเจริญเติบโต 2

คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา Evolution วิวัฒนาการ Reformation การปฏิรูป Revolution การปฏิวัติ Development การพัฒนา Civilization อารยธรรม Paradigm กระบวนทัศน์ Scenareo ภาพทัศน์ Strategic ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ 3

คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา การเปลี่ยนแปลง (Change) ความก้าวหน้า (Progress) การประดิษฐ์/นวัตกรรม (Innovation) ความทันสมัย (Modernization) การขยายตัว (Expansion) ความเจริญรุ่งเรือง/ความมั่งคั่งสมบูรณ์ (Wealth) คำกลางๆ ที่ใช้ในการอธิบายวิธีที่จะทำให้เกิดความเจริญในความหมายทั่วๆ ไป 4 4

คำและความหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คำที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับกระบวน การเปลี่ยนแปลง - อะไร - เรื่องใด - ส่วนใด การแปลงรูป (Transformation) ความเจริญเติบโต (Growth) การพัฒนา (Development) วิวัฒนาการ (Evolution) การปฏิรูป (Reformation) การปฏิวัติ (Revolution) คำที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับจังหวะขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลง 5 5

ความหมายการพัฒนา หลักเกณฑ์การพิจารณา 1. ลักษณะสัมพันธ์ (Relative) : 2. ลักษณะที่มีเข็มมุ่ง (Goal-orientated) : 3. ลักษณะที่มีค่านิยมสอดแทรก (Normative) : 6

คุณสมบัติของสังกัปการพัฒนา (Concept) 1. ลักษณะสัมพันธ์ (Relative) : - สังกัปไม่ตายตัว/แน่นอนเสมอไป - คุณสมบัติในเชิงเปรียบเทียบ การพิจารณาสิ่งใด/สิ่งหนึ่งว่า พัฒนาหรือไม่พัฒนาจะต้องเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นประเภทเดียวกัน 7 7

คุณสมบัติของสังกัปการพัฒนา (Concept) 2. ลักษณะที่มีเข็มมุ่ง (Goal-orientated) : รูปแบบลักษณะเชื่อมโยงจุดเริ่มต้นกับจุดหมายปลายทาง และ เป้าหมาย คือ “การพัฒนาแล้ว”(developed-ness) : Development + สภาวะ (State-of-being) + กระบวนการ (Process) 8 8

คุณสมบัติของสังกัปการพัฒนา (Concept) 3. ลักษณะที่มีค่านิยมสอดแทรก (Normative) : - การพัฒนาเป็นการได้มาซึ่งสภาวะที่พึงปรารถนา : ความคิดของแต่ละบุคคล และค่านิยมที่ยึดถือ - การโต้แย้งเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นประเด็นความชอบหรือค่านิยม (Value preference) การได้มาซึ่งสภาวะที่พึง ปรารถนา : ตามความคิดแต่ละบุคคลและค่านิยมที่ยึดถือ - ประเด็นการพัฒนา : เชิงกระบวนการ (Process) = การได้มาในสิ่งชอบจำนวนมากที่สุด : เชิงสภาวะ (State-of-being) = ความนิยมชมชอบคนในสังคมนั้น เป็นประเด็นจริยธรรม 9 9

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ : การพัฒนาที่มีการเพิ่มผลผลิตอย่าง ต่อเนื่องและก่อให้เกิดการเติบโตทาง อุตสาหกรรม (Self-sustaining Industrial Growth) เพื่อทำให้ ประชาชนไม่ยากจน ประกอบด้วย - การผลิต - การจำหน่ายจ่ายแจก - การแลกเปลี่ยน - การลงทุน 10 10

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ทางสังคม : การพัฒนาที่มีการยกระดับความเป็นอยู่ ได้แก่ - การพัฒนาจิตใจ - การพัฒนาแบบแผนและพฤติกรรม - การพัฒนาความสัมพันธ์ของคนในสังคม เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ในสังคม - การพัฒนาให้กระจายรายได้อย่าง เสมอภาค (Income Distribution) และ การดึงดูดมวลชนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ/ การเงิน 11 11

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ทางวัฒนธรรม : การสร้างความรู้สึกว่าตนเป็นชาติ (A New National Self-image) ความเชื่อมั่นและพร้อมที่จะเสียสละ เพื่อชาติ ทางการเมือง : การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สร้างกระบวนการปกครองให้เป็น ประชาธิปไตย และประชาชนใน ประเทศมีสิทธิเสรีภาพตามกฎหมาย 12 12

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Dudley Seers การพัฒนา เป็นการแสวงหาลู่ทางเพื่อแก้ไขปัญหาความ อดอยาก/ภาวะ ทุโภชนาการ (ความยากจนและความเจ็บป่วย ของประชากร) ซึ่งเป็นสิ่งที่บั่นทอนและทำลายศักยภาพของ ปัจเจกบุคคล “การพัฒนา:” คือ การส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเป็นธรรม ทางสังคมโดยมีเป้าหมาย : รายได้ : ครอบครัวมีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพ – ปัจจัยสี่ การมีงานทำ : หัวหน้าครอบครัว (สมาชิกในครอบครัว) การมีงานทำเกิด การกระจายรายได้และพัฒนาตนเอง ความเสมอภาค : การได้รับโอกาสจากการให้บริการสาธารณะเท่าเทียมกัน การมีเสรีภาพขั้นพื้นฐาน : เสรีภาพทางเศรษฐกิจ ทางสังคม การเมืองและ วัฒนธรรม รวมทั้งมีโอกาสเข้ามีส่วนร่วมกำหนด นโยบายของรัฐ การมีอิสระภาพ : กำหนดนโยบาย การบริหารและการพัฒนาประเทศ 13

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Paul Streeten การพัฒนา เป็นเป้าหมายและกระบวนการที่ครอบคลุมภาวการณ์ เปลี่ยนแปลงทัศนคติคนต่อชีวิตและการทำงาน การเปลี่ยนแปลงสถาบัน “การพัฒนา” คือ การเสริมสร้างความก้าวหน้า ประกอบด้วย : - การเพิ่มรายได้และผลผลิต - การเปลี่ยนแปลง สภาพและเงื่อนไขกระบวนการ ผลิต/ระบบการผลิต - การยกระดับมาตรฐานการครองชีพ (โภชนาการ ที่อยู่อาศัย สุขอนามัยและการศึกษา) - การมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน - การสร้างสรรค์สถาบันต่าง ๆ - การเพิ่มขีพความสามารถการกำหนดนโยบายต่าง ๆ 14

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา T. R. Batten ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาชุมชนของอังกฤษได้ให้ความหมายของ คำว่า พัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น Brookfield การพัฒนา เน้นด้านเศรษฐกิจ หมายถึง ความก้าวหน้าที่มุ่งเน้น จัดสวัสดิการ เป็นต้น - การลดความยากจน - การลดการว่างงาน - การลดความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ 15

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Hoogvelt “การพัฒนา” เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจภายใต้การแบ่งโลกออกเป็นโลกที่พัฒนา และไม่พัฒนา อธิบายว่า การพัฒนามีอยู่ 3 ฐานะ ได้แก่ 1. การพัฒนาเป็นกระบวนการวิวัฒนาการของความเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงสังคมมนุษย์ รวมทั้งองค์กรทางวัฒนธรรม การพัฒนาเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการทั้งแนวเก่า แนวใหม่ ความแตกต่างทางสังคม การผสมผสานและการปรับตัวด้วยการทำให้ดีขึ้น ตลอดจนขั้นตอนของวิวัฒนาการทางสังคม 16

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Hoogvelt 2. การพัฒนาฐานะเป็นการปฏิสัมพันธ์ ภายใต้โดยกระบวนการ เปลี่ยนแปลงและความเจริญเติบโตของสังคมด้วยการติดต่อสัมพันธ์กับ สังคมต่าง ๆ การพัฒนาสังคมที่ด้อยพัฒนา ด้วยการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้า ระบบพาณิชย์ ระบบอาณานิคม อาณานิคมยุคใหม่ การแปลงสภาพโครงสร้างของสังคมดั้งเดิมด้วยการเป็นสมัยใหม่ ภายใต้ลัทธิอาณานิคม การแพร่กระจายทัศนคติ ค่านิยม สถาบันต่าง ๆ ภายใต้ลัทธิอาณานิคมและการขาดตอนของกระบวนการวิวัฒนาการ 17

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Hoogvelt 3. การพัฒนาเป็นการปฏิบัติการ โดยการพัฒนาจะต้องมีการ วางแผนอย่างรอบคอบและตรวจสอบกระบวนการแห่งความเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีเป้าหมายให้เลือกสำหรับการพัฒนาหลาย ๆ เป้าหมาย รวมทั้งรูปแบบของการพัฒนา เป็นต้น 18

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ความหมายของการพัฒนา : การปรับปรุง/การเปลี่ยนแปลงสังคม/สิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างเป็นระบบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมายตามคุณค่าทางวัฒนธรรมของสังคม หนึ่งสังคมใด อย่างมีขั้นตอนหรือเป็นกระบวนการ องค์ประกอบสำคัญตามความหมายการพัฒนา : คุณค่าอันเป็นเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบและขั้นตอน 19

การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ปัจจัยกำหนดคุณค่าเป้าหมายแห่งการเปลี่ยนแปลง : ความเชื่อ (Belief) ความคิด (Concept) และทัศนะ (Attitude) ที่มีต่อการมองโลก วัฒนธรรม (Culture) ที่เป็นผลอันเกิดจากระบบกลไก/ กระบวนการทางสังคม เงื่อนไขสภาวะที่แท้จริง (Concrete Situations) ความเป็นมาและ พัฒนาการสังคม พื้นฐานระบบการผลิต ระบบสังคม วัฒนธรรม และการเมือง 20

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา พิจารณา : เชิงคุณภาพ = เชิงประมาณ Quality of Life : Wealth = Rich พิจารณา : เชิงคุณภาพ = เชิงประมาณ 21 21

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาทั่วไป “การสร้างสรรค์ประเทศให้มีความเจริญ” ทำให้ประเทศ : - เสถียรภาพ - ความมั่นคง - ประชาชนมีความเป็นอยู่/คุณภาพชีวิตที่ดีตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับสังคมนั้น 22 22

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Dudley Seers : “The Meaning of Development” เสนอ 2. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเบื้องต้น 2.1. ขจัดความไม่รู้ : ภาวะขาดการศึกษา ความไม่รู้ ความโง่ของประชาชนเป็นอุปสรรคการพัฒนาประเทศ ความรู้/ความฉลาดจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Basic Structure/Pattern) 23 23

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2. 2 ขจัดความยากจน : ประชาชนในประเทศต้องมีงานรายได้เพื่อประทังชีพ งานเป็นศักดิ์ศรี (Dignity) ของทรัพยากรมนุษย์อย่างน้อยหัวหน้าครอบครัวต้องมีงาน การขจัดความยากจนเป็นการสร้างศักยภาพของมนุษย์ (Human Potential) ความยากจนประชาชนเป็น 25% ทำให้เกิดปัญหาการพัฒนา 24 24

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2.3. ขจัดเจ็บป่วย : ประชาชนสุขภาพไม่ดีย่อมเอื้อต่อกัน/เกี่ยวกับปัญหาอื่นๆ จึงต้องเสริมสร้างความสมบูรณ์และเข้มแข็งทั้งร่างกาย & จิตใจ 2.4. ขจัดอยุติธรรม : แก้ไขการเอารัดเอาเปรียบ ปัญหาคุณธรรม & จริยธรรมเป็นพื้นฐานสังคมมนุษย์ ความไม่ยุติธรรมก่อให้เกิดความขัดแย้งเอารัดเอาเปรียบแก่งแย่งและความแตกต่างการใช้ความรุนแรง ความขัดแย้ง การใช้ความรุนแรง ปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลง 25

3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- reliance) ทั้งระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ 3.2 ความสามารถในเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : ความก้าวหน้าในแง่ความเข้าใจ การคิดค้น ประดิษฐ์และการ ประยุกต์ใช้ 26

3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ ทางกายภาพ ชีวภาพและมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.4. การกระจายอำนาจ : การบริหารและการพัฒนาในการ กระจายอำนาจอาจจะเกิดทั้ง - แง่ + ระดมความคิดและร่วมมือระดับล่าง - แง่ - อาจล่าช้าเพราะผ่านขั้นตอน 27

เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย การพิจารณาการกระจายอำนาจ 1. ขอบเขตและการตัดสินใจ 2. การกำหนดนโยบายต่างๆ 3. การใช้จ่ายและการควบคุมการคลัง 4. การบังคับบัญชาบุคลากร 5. การจัดการและรูปแบบการบริหาร 3.5 การกระจายผลประโยชน์ : ทุกในแง่ประโยชน์จาก บริการสาธารณะ (Public Interest) เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย 28

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. การเสริมสร้างความมีเหตุผล : การพยายามให้ผู้อื่นเกิดความรู้อย่างมีเหตุผล : การใช้ปัญญาให้เกิดการพัฒนา การพัฒนาโดยใช้ภูมิปัญญา 2. การวางแผนอย่างมีเป้าหมาย : การมองการณ์ไกล : การยอมรับความก้าวหน้าและนวัตกรรมสมัยใหม่ 3. ทัศนคติที่ดี “ชีวิต” และ “งาน” : การที่มีทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งที่ดี หรือมองผู้อื่นด้วยดี : พิจารณาคุณค่าและให้คุณค่าที่ดีต่องาน ชีวิต และผู้อื่น 29

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 4. การสร้างสถาบันที่มีความชำนาญ : การพัฒนาสถาบัน/องค์กรที่มีความชำนาญ : สร้างงาน ให้งานกับผู้ที่มีความสามารถ และสร้างสถาบัน/องค์กรที่ดีตามความชำนาญ 5. ประสิทธิภาพการผลิต/ดำเนิงาน: การประกอบกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ : สร้างประสิทธิภาพการผลิต/ทำงานจะมีผลต่อการใช้ทรัพยากรและการพัฒนา Input Process/System Output Input = Output Input > Output Input < Output สมดุล ด้อยพัฒนา พัฒนา 30

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 6. การเพิ่มผลผลิต/ผลงาน การยกระดับด้วยการเพิ่มผลผลิต/ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในผลงานที่รับผิดชอบให้ดีขึ้น 7. โอกาสการได้รับบริการสาธารณะ ความเสมอภาคในโอกาสการได้รับบริการสาธารณะ : พิจารณาโอกาส เงื่อนไข และการยกเว้น 8. ประชาธิปไตยระดับ “รากหญ้า” วิถีทางประชาธิปไตยในการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย : สามารถยอมรับความแตกต่างและการมีเหตุผล 31

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 9. การสร้างความเข้มแข็งของชาติ ผลประโยชน์ของสังคม/ประเทศเป็นหลัก : การให้ความ สำคัญต่อผลประโยชน์โดยรวมของทุกคนในสังคมและประเทศ 10. ความมีวินัยของสังคม สร้างเสริมวินัยบุคคลในประเทศ : วินัยการดำรงชีวิต/ประกอบอาชีพ (จริยธรรม/จรรยาบรรณ) 32

ปรัชญาพื้นฐานการพัฒนา บุคคลมีความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ บุคคลมีสิทธิและกำหนดวิถีชีวิตตนเอง บุคคลสามารถเรียนรู้ บุคคลมีความคิดริเริ่ม บุคคลความสามารถพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน 33

ปรัชญาแห่งการพัฒนา มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด เพราะมีวามสามารถและพลังซ่อนเร้น ศรัทธาในความยุติธรรมของสังคม เพื่อขจัดความขัดแย้งและความเหลื่อมล้ำในสังคม ความไม่รู้ ความดื้อรั้นและการใช้กำลังเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนา 34

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา 1) ภายหลังสงครามโลกครั้ง 2 เกิดการแบ่งกลุ่มประเทศขึ้นอย่างชัดเจนตามความเชื่อลัทธิการเมือง-เศรษฐกิจ 2) เกิดประเทศ/รัฐใหม่จำนวนมาก โดยประเทศภายใต้อาณานิคมของ ชาติมหาอำนาจตะวันตก ได้รับอิสระกลายเป็นประเทศเกิดใหม่ (Emergent States) 3) ประเทศ/รัฐชั้นนำต้องสร้างพันธมิตรด้วยการแสวงหาประเทศที่มี ความด้อย/อ่อนแอกว่าเป็นฐานในการต่อสู้กับฝ่ายตรงกันข้าม 35 35

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียตรัสเซียกลายเป็นศูนย์รวมอำนาจที่พยายามขยายแพร่อิทธิพลตนเอง ด้วยการกำหนดรูปแบบทางเศรษฐกิจและการเมืองให้แก่ประชาคมโลกตามความเชื่อของแต่ละประเทศ ประธานาธิบดี Harry Truman ของสหรัฐอเมริกาแถลงในสภาคองเกรสเมื่อต้นปี พ.ศ. 2492 ว่า ชาติมหาอำนาจจะต้องให้ความช่วยเหลือชาติเกิดใหม่ที่ “ล้าหลัง” และ “ไม่ศิวิไลซ์” ด้วยการ“ช่วยเหลือ” ภายใต้เหตุผลของ “การพัฒนา” 36 36

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ภาวะการเปลี่ยนแปลงการพัฒนา บางประเทศยอมรับนำแนวคิดเป็นกรอบการพัฒนาแตกต่างกันทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตรัสเซีย หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลาย สหรัฐเอมริกามีบทบาทขึ้นและกลายเป็นประเทศชี้นำ ครอบงำและมีอิทธิพลเหนือประเทศอื่น กรอบการพัฒนาของโลกมีการเปลี่ยนแปลง 3 ครั้ง - เน้นอัตราเติบโตทางเศรษฐกิจ - เน้นความสอดคล้องของโครงสร้างความสัมพันธ์และพึ่งพา - เน้นประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและวิธีวางแผนแบบสังคมนิยม 37 37

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา กระบวนทรรศน์ (Paradigm) (1) ทรรศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง/หลายอย่างที่จะกำหนดแบบแผน การคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ (2) ความคิดรวบยอดของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง/หลายอย่าง โดยจะกำหนดแบบแผนความคิดหรือพฤติกรรมการกระทำ (3) เมื่อทรรศนะ/ความคิดพื้นฐานเปลี่ยนแปลงจะทำให้แบบแผนการคิด และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย (Paradigm Shift) 38 38

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) “การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : - ทุนนิยม/เสรีนิยม - สังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่เริ่มก่อกำเนิดของทฤษฎีแรกแห่งการพัฒนา (The First Theory of Development) 39 39

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - สมัยประธานาธิบดี Harry Trueman ของจักรวรรดินิยมอเมริกาภายหลังจากการยุติลงของสงครามโลกครั้งที่ 2 - การต่อสู้ระหว่างลัทธิการเมืองและนโยบาย 4 เป้าหมาย (Point Four Programme) เพื่อถ่วงดุลอำนาจ ช่วงชิงและครอบงำประเทศอ่อนแอ ให้เป็นฐานกำลังในการต่อสู้กับปฏิปักษ์ - สงครามระหว่างลัทธิได้ดำเนินติดต่อกันมาจนกระทั่งเกิดการล่มสลาย ของลัทธิสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งการเปลี่ยนท่าที แนวทางและนโยบาย ทางการเมืองของพันธมิตรหลายๆ ประเทศ 40 40

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - การล่มสลายของลัทธิเศรษฐกิจการเมืองของประเทศที่เป็นปฏิปักษ์ ทำให้เกิดการแพร่กระจายและขยายตัวของแนวคิดเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก (Main Stream Economy) - ประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศอาณานิคมยุค ใหม่ (New Colony) ของจักรวรรดินิยมอเมริกา นำเอาแนวคิดทาง เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และแนวคิดปฏิฐานนิยมไปกำหนดแนวทาง ในการพัฒนาประเทศ 41 41

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงกระบวนทรรศน์ (Paradigm) - ผลการนำแนวคิดมาใช้พัฒนาประเทศอย่างขัดแย้งกับวัฒนธรรมและ วิถีการดำรงชีวิต (Mode of Living) - แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : : ผลประโยชน์ส่วนบุคคลอย่างไร้ขอบเขต : การทำลายล้างระบบนิเวศ ระบบศีลธรรม วัฒนธรรม สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 42 42

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) - เริ่มประมาณช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/หายนะ โดยเฉพาะพื้นที่ประเทศยุโรป และแนวคิดการพัฒนาแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical Matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อยพัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- : Neo-Classic Economic : American Social Science

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ” หรือ“Development Economics” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง ลักษณะเป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดทิศทางการ พัฒนาประเทศต่างๆ โดยพิจารณาแนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทาง เศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 : โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรป ตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) = E/F/I/W G เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าประสบ ผลสำเร็จ แพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนา ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม“ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” : อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการขาดเงื่อนไข การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 46

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ประเด็นการพัฒนา : : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค : เศรษฐกิจเจริญ : สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดประยุกต์ใช้กว้างขวางทั้งประเทศ พัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) พิจารณามองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้านกรอบ แนวคิด 1 st Paradigm เริ่มขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกันในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยเสนอแยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก : - เศรษฐศาสตร์พัฒนา - สังคมวิทยาอเมริกัน แนวคิดหลายกระแสมาก 48

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหา มากพอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ ปัญหาประเทศด้อยพัฒนาเกิดจากครอบงำ การเอารัด เอาเปรียบ และขูดรีดจากประเทศจักรวรรดินิยม Structuralism Approach 49

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) หลักการที่ใช้วิเคราะห์ปัญหาและทางออกของสังคมด้อยพัฒนาที่ขยายตัวและได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) - ทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory) 50

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณช่วงต้นศตวรรษที่ 1970 กลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการ พัฒนาโลกที่ 3 การขยายตัวระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความสับสนและภาวะ ด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป : แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict)

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)

กรอบแนวคิดแห่งการพัฒนา ทฤษฎีการพัฒนามิใช่สูตรสำเร็จ (Ready Formula) ที่จะนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางในทุกระบบสังคม แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาไม่ควรจะมีลักษณะเป็น Mechanico- formal Formulation เพราะ : 1) กระบวนการพัฒนาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง 2) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและ วัฒนธรรมของสังคมที่มีเงื่อนไขและรูปแบบทางประวัติศาสตร์ แตกต่างกัน 53 53