เรื่อง ผักเสี้ยนผี ชื่อผู้จัดทำ ............................................... โรงเรียน .................................................. อำเภอ.................จังหวัด..........................

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อเรื่อง ชื่อผู้ดำเดินงาน ที่อยู่. * Tel: บทคัดย่อ ………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… บทคัดย่อ ………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………
Advertisements

กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
การควบคุมวัสดุ ครุภัณฑ์ และรถราชการ
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ. ๒๕๔๐
สำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว Plant Protection Sakaeo
งานจัดการเรียนการสอน
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ. ศ เวลา น
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
การพัฒนาดิจิทัลคอลเลคชั่น
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
บทบาทของ สถ. ในการสนับสนุน การดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
สิทธิรับรู้ของประชาชน
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
เรื่อง การปรับปรุงค่าตอบแทนภาคราชการ
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
ประวัติจังหวัดน่าน เมนู.
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง เทคโนโลยี ดนตรี หมอลำ
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การแจ้งจัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๖๒ โครงการส่งเสริมการอ่านตามรอยพระจริยวัตรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๑๑๐๖.
การนำเสนอแบบโปสเตอร์
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
การประชุมชี้แจงแนวทางการกรอกข้อมูล เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะสำหรับกรุงเทพมหานคร โดย คณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในเครือข่ายการวิจัย.
วิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญPPA1106
ทำยังไงเรียกเก็บแล้วได้เงิน
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ผักเสี้ยนผี ชื่อผู้จัดทำ ............................................... โรงเรียน .................................................. อำเภอ.................จังหวัด..........................

สารสำคัญ ผักเสี้ยนผี เป็นพืชล้มลุกที่มีทั่วไปตามท้องถิ่น มีประโยชน์ทางสมุนไพร ชาวบ้านใช้ประโยชน์จากผักเสี้ยนผีอย่างหลากหลายแต่นับวันคุณประโยชน์จากผักเสี้ยนผีจะจางหาย คนรุ่นใหม่ไม่รู้จักและมองข้ามประโยชน์ของผักเสี้ยนผี ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาข้อมูลผักเสี้ยนผี เพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าและเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้านให้สืบทอดต่อๆไป

วัตถุประสงค์ ผักเสี้ยนผี ๑. เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างภายนอกและภายในของผักเสี้ยนผี ๒. เพื่อรวบรวมข้อมูลการใช้ประโยชน์ของผักเสี้ยนผี ในทางสมุนไพร ๓. เพื่อให้นักเรียนและประชาชนในท้องถิ่นได้ทราบและตระหนักถึง ความสำคัญของผักเสี้ยนผี ๔. เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และการขยายพันธุ์ผักเสี้ยนผี ๕. เพื่อกระตุ้นและปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณให้กับนักเรียน และชุมชนในท้องถิ่น

ข สารบัญ สาระสำคัญ 2 ป้ายพรรณไม้สมบูรณ์ 7 ประโยชน์ 8 ลักษณะวิสัย 9 การศึกษา 10 ราก 11 ลำต้น 16 ใบ 19 หนังสืออ้างอิง 22 ประวัติผู้จัดทำ 23

ผักเสี้ยนผี พืชศึกษา

ผักเสี้ยนผี ป้ายพรรณไม้สมบูรณ์ ชื่อพื้นเมือง ผักเสี้ยนผี (ภาคกลาง), ส้มเสี้ยนผี (ภาคเหนือ), ส้มเสี้ยนตัวเมีย,ไปนิพพานไม่กลับ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cleome viscosa Linn. ชื่อวงศ์ CAPPARIDACEAE ชื่อสามัญ Polanisia Vicosa , Wild spider

ผักเสี้ยนผี ประโยชน์ แก้วัณโรค แก้ปวดหลัง ฆ่าเชื้อโรค ฆ่าพยาธิ กระตุ้นหัวใจ รักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน โรคผิวหนัง โรคไขข้ออักเสบ บรรเทาอาการจุกเสียด โรคบิด แก้ปวดศีรษะเรื้อรัง แก้หูอักเสบ ขับน้ำเหลืองเสีย แก้ปัสสาวะพิการ แก้โรคผอมแห้งของสตรีเนื่องจาก คลอดบุตรและอยู่ไฟไม่ได้ ขับหนองในร่างกาย แก้ฝีปอดในลำไส้ ในตับ

ผักเสี้ยนผี ลักษณะวิสัย วิสัย เป็นไม้ล้มลุกอายุ 1 ปี ลำต้นตั้งตรงเอนได้ สูง ๑ – ๑.๓ ม. ผิวขรุขระ มีขนสีขาวและมีกลิ่นฉุน ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือเรียงสลับใบย่อย ๓ – ๕ ใบ ดอกช่อกระจุกมีสีเหลืงไม่มีกลิ่น กลีบดอกมี ๔ กลีบ มีรูปร่างเรียวแหลม มีเกสรอตัวผู้หลายตัวเกสรตัวเมีย๑ ตัว รังไข่อยู่เสมอฐานรองดอก ผลกลมเป็นฝักเรียวยาว คล้ายฝักถั่วเขียว เมล็ดกลมแบน ผิวเรียบ

ผักเสี้ยนผี การศึกษา ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด

ราก โครงสร้างภายนอก รากแก้ว รากฝอย รากแขนง รากขนอ่อน

ราก โครงสร้างภายใน ขนราก เอพิเดอร์มิส โฟลเอ็ม คอร์เท็กซ์ ไซเลม เอนโดเดอร์มิส

ราก ลักษณะ 1. รากแก้ว เป็นรากที่งอกจากเมล็ด ส่วนรากมี 1. รากแก้ว เป็นรากที่งอกจากเมล็ด ส่วนรากมี ต้นกำเนิดลักษณะของโคนรากใหญ่แล้วค่อย ๆ เรียว เล็กลงไปทางปลายราก มีลักษณะแข็ง ขนาดใหญ่ เด่นชัด เจริญเติบโตไชลึกลงไปในดินความยาว 7 – 10 เซนติเมตร รากมีสีขาวขุ่น มีหน้าที่ ค้ำจุนลำต้นไม่ให้หักโค่นได้ง่าย

ราก ลักษณะ 2. รากแขนง เป็นรากใหม่ที่เกิดจากเพอริไซเคิลภายในรากแก้ว มีความยาว 4-7 เซนติเมตร รากแขนงมีสีขาวขุ่น 3. รากฝอย เป็นรากขนาดเล็กแตกออกมาจากรากแขนงและรากแก้ว มีความยาว ๒ – ๔ เซนติเมตร 4. รากขนอ่อน เจริญเติบโตออกมาจากรากแก้ว รากแขนง และรากฝอย มีความยาว ๐.๑ – ๑ เซนติเมตร รากขนอ่อนมีสีขาวขุ่น

ลำต้น โครงสร้างภายนอก ลำต้นตอนปลาย ลำต้นตอนกลาง ลำต้นตอนโคน การเจริญเติบโตของลำต้นในระยะต่าง ๆ

ลำต้น โครงสร้างภายใน เอพิเดอร์มิส คอร์เท็กซ์ พิธ โฟลเอ็ม ไซเลม

ลำต้น ลักษณะ ลำต้น เป็นไม้ล้มลุก ตั้งตรงเหนือพื้นดิน สูง ๑ – ๑.๓ เมตร เจริญเติบโตได้ดีในดินที่ร่วนปนทราย ลำต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อน ลำต้นแก่สีเขียวเข้ม ผิวขรุขระ มีขนสีขาว ไม่มียาง ทุกส่วนของลำต้นมีกลิ่นฉุน เนื้อไม้มีสีขาว กิ่งแตกออกด้านข้างลำต้นเป็นพุ่ม

การเจริญเติบโตของใบในระยะต่าง ๆ โครงสร้างภายนอก ก้านใบ การเจริญเติบโตของใบในระยะต่าง ๆ

ใบ โครงสร้างภายนอก โคนใบด้านซ้าย โคนใบด้านขวา กลางใบด้านขวา ปลายใบด้านขวา กลางใบด้านซ้าย ปลายใบด้านซ้าย

อัพเพอร์ เอพิเดอร์มิส ใบ โครงสร้างภายใน อัพเพอร์ เอพิเดอร์มิส คิวติเคิล โลเวอร์ เอพิเดอร์มิส เซลล์คุม แพลิเสดมีโซฟิลล์

ใบ ลักษณะ ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ช่อหนึ่งมีใบย่อย ๓ – ๕ ใบ ใบจะมีสีเขียวอมเหลือง ลักษณะของขอบใบเป็นขอบขนาน ใบย่อยเป็นรูปไข่ โคนใบและปลายใบแหลม แผ่นใบบาง เนื้อใบบางนุ่ม ตามผิวใบจะมีขนอ่อน ๆ ปกคลุม มีกลิ่นฉุน กว้างประมาณ ๑ – ๓ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๔ – ๗ เซนติเมตร ซึ่งใบกลางจะมีขนาดใหญ่กว่า

ดอก โครงสร้างภายนอก

ดอก ลักษณะ จะออกเป็นดอกช่ออยู่ตามง่ามใบ ช่อดอกยาวแหลมกลีบดอกสีเหลืองบางและเกลี้ยงที่ปลายดอกจะมีจงอยแหลมมีขนปกคลุมเล็กน้อย ดอกจะบานจะบานในวันเดียวคือตอนเช้า มีความยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีก้านดอกยาวประมาณ ๒.๕ – ๓ เซนติเมตร กลีบดอกมี ๔ กลีบ มีรูปร่างเรียวแหลม ก้านชูอับเรณูมีสีเหลือง อับเรณูมีดำ แต่มีเกสรตัวเมียเพียง ๑ ตัว

ผล โครงสร้างภายนอก

ผล ลักษณะ เมล็ด มีรูปร่างกลมแบน เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑ มิลลิเมตร ใน ๑ ผล มีเมล็ดอยู่ ประมาณ ๑๐๐ – ๒๐๐ เมล็ด ตามขนาดของผล ผิวเมล็ดเรียบ เมล็ดอ่อนมีสีเขียวอ่อน ส่วนเมล็ดแก่มีสีนำตาลเข้มปนดำ ไม่มีกลิ่น

เมล็ด โครงสร้าง/ลักษณะ เมล็ด มีรูปร่างกลมแบน เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑ มิลลิเมตร ใน ๑ ผล มีเมล็ดอยู่ ประมาณ ๑๐๐ – ๒๐๐ เมล็ด ตามขนาดของผล ผิวเมล็ดเรียบ เมล็ดอ่อนมีสีเขียวอ่อน ส่วนเมล็ดแก่มีสีนำตาลเข้มปนดำ ไม่มีกลิ่น

ตัวอย่างพรรณไม้แห้งดอง พรรณไม้ดองผักเสี้ยนผี พรรณไม้ดองผักเสี้ยนผี พรรณไม้แห้งผักเสี้ยนผี พรรณไม้แห้งผักเสี้ยนผี

ผลการศึกษา รายการที่ศึกษา ผลการวัด ( ซม.) ๑)ใบกว้างที่สุด ๓ ๒)ใบแคบที่สุด ๑ ๓.)ความกว้างของใบที่พบมากที่สุด ๒ ๗.)ความกว้างของใบโดยเฉลี่ย ๑.๘๙ ๔.)ใบยาวที่สุด ๗ ๕.)ใบสั้นที่สุด ๔ ๖.)ความยาวของใบที่พบมากที่สุด ๕.๕ , ๕.๙ , ๖.๑ ๘.)ความยาวของใบโดยเฉลี่ย ๕.๘๖

เอกสารอ้างอิง - งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน งัวบาวิทยาคม … เอกสารอ้างอิง - งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน งัวบาวิทยาคม - เว็บไซต์ http://nguabawit.org www.rspg.or.th http://agkc.lib.ku.ac.th www.qsbg.org

ผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล นางสาวชมภูนุช บุญไชย ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย … ผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล นางสาวชมภูนุช บุญไชย ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย หน่วยงาน โรงเรียนงัวบาวิทยาคม เบอร์โทรศัพท์ 081 9656741 e-Mail kondee_nt@hotmail.com

ผักเสี้ยนผี