การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สถานการณ์การบาดเจ็บเสียชีวิต นครราชสีมา เทศกาลสงกรานต์
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
มาตรการป้องกันควบคุม การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง เทศกาลสงกรานต์ จังหวัด นครศรีธรรมราช.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กล่าวเปิดประชุมเชิงปฎิบัติการ
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ จากจราจรทางถนน

“ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน” เป้าหมาย “ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน” เป้าหมาย : ลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ต่ำกว่า 10 คน ต่อประชากรแสนคน ในปี 2563 ประเทศ : อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ปี 2561 ไม่เกิน 16 ต่อปชก.แสนคน เขตสุขภาพที่ 2 : อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ปี 2561 ไม่เกิน 20.38 ต่อปชก.แสนคน (702 ราย)

แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สนย. กระทรวงสาธารณสุข ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน * ตั้งแต่ ปี 2556 เขตสุขภาพที่ 2 อัตราตายมีแนวโน้ม ลดลง แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สนย. กระทรวงสาธารณสุข

อัตราการเสียชีวิตจากการจราจรทางถนน รายจังหวัด เขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 *อัตราตายเขต 2 ปีงบ 60 สูงกว่า ค่าเป้าหมาย สูงสุดที่ จ.พิษณุโลก จ.ที่ตายต่ำกว่าเป้าหมาย 2 จังหวัด คือ พิษณุโลก และ เพชรบูรณ์ จ.สุโขทัย อัตราตายเท่ากับค่าเป้าหมายของจังหวัด แต่สูงกว่าค่าเป้าหมายประเทศ แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สนย. กระทรวงสาธารณสุข

RTI เขต 2 มาตรการป้องกัน มาตรการบริหารจัดการ มาตรการข้อมูล รถ / สิ่งแวดล้อม ถนน คน RTI เขต 2 มาตรการป้องกัน - D-RTI : 35 อำเภอ(74.5%) - ด่านชุมชน : ช่วงเข้มข้น 2 ครั้ง (ปีใหม่/สงกรานต์) - ด่านกวดขันวินัยจราจร : ทุกจังหวัด - พรบ.Alc : 2 ครั้ง(ปีใหม่/สงกรานต์) - ค่ายป้องกันฯ : อำเภอกงไกรลาศ อำเภอ เนินมะปราง(อัตราตายลดลง) - พิษณุโลกโมเดล(ตะวันแดง) - มาตรการองค์กร : ประชาสัมพันธ์ หน่วยงาน(โรงเรียน สถานที่ราชการ) - อบรมการช่วยฟื้นคืนชีพ/ใช้AED : อปท. กู้ชีพกู้ภัย จนท.สสจ. -รถพยาบาลติดGPS/CarDVR/ทำประกันภัยรถยนต์/จำกัดความเร็วไม่เกิน90กม./อบรม พขร. มาตรการบริหารจัดการ - SAT/EOCจังหวัด : 2 ครั้ง(ปีใหม่/สงกรานต์) - TEA Unit คุณภาพ : รพ. 7 แห่ง - ประชุม ศปถ.จังหวัด :ทุกเดือน - สสอ./รพ. เลขาฯร่วม ศปถ.อำเภอ : 47 อำเภอ - พชพ. : 23 อำเภอ(48.9%) ท้องถิ่น /ประชาชน เอกชน รัฐ มาตรการข้อมูล - บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน และคืนข้อมูลที่ประชุม ศปถ.จังหวัด/กรมการจังหวัด/หัวหน้าส่วนราชการจังหวัดทุกเดือน - เก็บข้อมูลโปรแกรม : 43 แฟ้ม / IS WIN - อบรม IS online รพ. A S M1 : 9 รพ. - อบการวิเคราะห์ข้อมูล/สอบสวนฯ : 47 อำเภอ - สอบสวนอุบัติเหตุ : 33 เหตุการณ์ 99 ราย - สำรวจ/จัดการจุดเสี่ยง : 102 จุด มาตรการการรักษา - EMS คุณภาพ : ครบทุก รพ. 100% - EMS อปท.(FR) : 86.8%

ผลลัพธ์การดำเนินงาน แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สนย. กระทรวงสาธารณสุข แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สนย. กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2561

ผลลัพธ์การดำเนินงาน 16 ต่อ ปชก. แสนคน *อัตราตายเขต2 ไตรมาส 1- 3 ปีงบ 61 สูงกว่า ค่าเป้าหมาย สูงสุดที่ จ.พิษณุโลก แหล่งข้อมูล : ข้อมูลมรณบัตร สนย. กระทรวงสาธารณสุข

ข้อชื่นชม กงไกรลาศโมเดล : นำปัญหาเข้าพชพ. สั่งการโดยนายอำเภอคืนข้อมูล ชี้เป้าให้ชุมชน ร่วมแก้ปัญหา ตั้งด่านป้องปราม ในชุมชนช่วงวันหยุดยาว บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง ศรีเทพโมเดล : จัดการข้อมูล และขับเคลื่อนการดำเนินงานแบบสหสาขาต่อเนื่อง นครไทยโมเดล : ดำเนินการ D-RTI ขับเคลื่อนแบบสหสาขาต้นแบบระดับดีมาก วังเจ้าโมเดล : นายอำเภอนำปัญหาเข้าที่ประชุม ศปถ.จังหวัด มาตรการ 10 รสขมของตำรวจ มาตรการชุมชนจริงจัง

ข้อเสนอแนะ * วิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานสอบสวนอุบัติเหตุ/ข้อมูล3ฐาน ให้ครอบคลุม 4 องค์ประกอบ( คน ถนน รถ สิ่งแวดล้อม) ในรูปแบบGIS แล้วนำเข้าที่ประชุม ศปถ.จังหวัด/อำเภอ เพื่อแก้ปัญหาโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง * มุ่งเน้นมาตรการป้องกัน ร่วมกับสหสาขา โดยเฉพาะอำเภอเสี่ยงสูง(ประยุกต์ใช้โมเดลอำเภอต้นแบบแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิผล) *