สายรัดห่วงใยลด CA-UTI

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
Advertisements

การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในระบบ Stroke Fast track เครือข่ายบริการโรงพยาบาลสกลนคร ประภัสสร สมศรี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ,
By Duangduan Thiangtham
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management ครั้งที่ 1 ปีงบ 2557 วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556 Knowledge Management ครั้งที่ 1 ปีงบ 2557 วันที่ 20 พฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กันยายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
Center of Excellence in Immunology & Immune-mediated diseases ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน.
ด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร
พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง
Quality Improvement Track
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน มกราคม 2558 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
This involves YOU The interaction between the 6 elements of the chain determine whether an infection will result.
การป้องกันการติดเชื้อจากการให้สารน้ำ ทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
Anaerobic culture methods
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ
ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล
Antimicrobial Therapy in Adult Patient with Sepsis
นิรันดร์ จ่างคง 4 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุม ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย
CAUTI (Catheter-Associated Urinary Tract Infection) Present By
ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
Toward National Health Information System
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
BONE INFECTION (osteomyelitis)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
Risk Management System
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
Role of Stroke Indicator & Benchmark
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
บทเรียนจาก VRE / CRE และ เชื้อดื้อยา
How to joint and goal in stroke network
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Control : IC) รพ.สต.ติดดาว
วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคล ด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
พญ.ช่อทิพย์ วัฒนสุทธิพงศ์
Easy Quality for CLT/PCT
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คบสอ.ตะพานหิน.
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
The Child with Renal Dysfunction
Rational Drug Use (RDU)
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สายรัดห่วงใยลด CA-UTI ผู้รับผิดชอบโครงการ  นางพธูลักษณ์ เกษมสำราญและเจ้าหน้าที่พิเศษ6/1

หลักการและเหตุผล การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสาย สวนปัสสาวะ (catheter associated urinary tract infection; CAUTI) นั้นเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยต้องนอน โรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่ม มากขึ้นและอาจทำให้เกิดการติดเชื้อในกระแสเลือด การติดเชื้อ CAUTI ทำให้จำนวนวันนอโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ อัตราการติดเชื้อ CAUTI ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในตึกพิเศษ 6/1 ปี 2560 เท่ากับ 12.05 ครั้ง/ 1,000 วันของการคาสายสวน ซึ่งเป็นอัตราการติดเชื้อ CAUTI ที่สูงกว่าตัวชี้วัดของโรงพยาบาล 2 – 3 เท่า แม้ว่าหอ ผู้ป่วยได้จัดทำ โครงการควบคุมการติดเชื้อ CAUTI มาโดยตลอด ทั้งควบคุมมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วย ที่คาสายสวนปัสสาวะ

หลักการและเหตุผล การประเมินความพร้อมใน การถอดสายสวนปัสสาวะอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง โดยพิจารณาตามข้อบ่งชี้ของการใส่สายสวนปัสสาวะ คือ ระบบทางเดินปัสสาวะอุดตัน มีความผิดปกติของ ระบบประสาทที่ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ มีปัสสาวะ ค้างในกระเพาะปัสสาวะ ความจำ เป็นในการติดตาม จำนวนปัสสาวะทุก 1 – 2 ชั่วโมง เป็นต้น แต่อัตราการติดเชื้อ CAUTI ก็ยังเพิ่มขึ้น แม้ว่าผลการศึกษาที่ ผ่านมาพบว่า การประเมินความพร้อมในการถอด สายสวนปัสสาวะอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้งสามารถลดอัตราการติดเชื้อได้จากปัญหาแลความสำคัญดังกล่าวเจ้าหน้าที่พิเศษ6/1 จึงสนใจพัฒนารูปแบบการพยาบาล

หลักการและเหตุผล เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะและจัดทำนวัตกรรมสายรัดห่วงใย ผู้ป่วยที่มีการคาสายสวนปัสสาวะ และ ตรึงสายสวนด้วย พลาสเตอร์พบว่า เมื่อ เปียกชื้น พลาสเตอร์จะหลุด ไม่สามารถยึดตรึงสายสวนได้ ทำให้สายสวนมีการเลื่อน เข้าเลื่อนออกและหักพับงอได้ บางครั้งมีคราบเหนียวของพลาสเตอร์ติดที่สายสวน และผิวหนังผู้ป่วย ทำให้เกิดแผลถลอกและสายสวนปัสสาวะ เป็นคราบสกปรก จึง ใช้ Bundle care CAUTI มาเป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อป้องกันการเกิดการแพร่แพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน ตึกพิเศษ 6/1 2. เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน มีความรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล

เป้าหมายการดำเนินงาน การเกิดอัตราเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน ตึกพิเศษ 6/1 = 0

วิธีการดำเนินงาน 1. จัดทำโครงการ นำเสนอหัวหน้าตึกเพื่อขออนุมัติโครงการ จัดการประชุมเจ้าหน้าที่ประจำ หอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 เพื่อแจ้งให้ทราบถึงโครงการและแผนการดำเนินการโครงการให้เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบและขอความร่วมมือในการดำเนินโครงการ 2. ประเมินความรู้พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล ก่อนทำโครงการ

วิธีการดำเนินงาน 3.สำรวจและให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน หอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 โดยสอบถาม สังเกต การบรรยาย การสาธิต และการสาธิตย้อนกลับ 4. ประเมินความความรู้พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล หลังให้ความรู้

ระยะเวลา พฤศจิกายน 2559 – สิงหาคม 2560 ระยะเวลา พฤศจิกายน 2559 – สิงหาคม 2560 งบประมาณ รอบแรก ไม่มีค่าใช่จ่าย (มีค่าใช้จ่าย ซื้อตีนตุ๊กแก และ ELASTICขนาด 1 นิ้ว ยาวประมาณ อย่างละ 10 เมตร รวมราคาประมาณ 500 บาท )

การประเมินผลสำเร็จของโครงการ 1. การเกิดอัตราเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน ตึกพิเศษ 6/1 = 0 2. พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล มากกว่า 80 %