งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
Immunity System ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายแล้วทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้าน แอนติเจน แบคทีเรีย เชื้อรา สารเคมี ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ ไวรัส กลไกการป้องกัน ผิวหนัง เซลล์เม็ดเลือดขาว ระบบน้ำเหลือง

2 ด่านแรกที่ทำหน้าที่ป้องกันร่างกายจากเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
ผิวหนังไม่ฉีกขาด ไม่เป็นรอยแผล ผิวหนัง กรดแลกติกที่ปนกับเหงื่อสามารถป้องกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย แอนติเจนบางชนิดอาจเข้าสู่ร่างกาย บริเวณต่อมเหงื่อ และรูขุมขน

3 Skin Structures Epidermis Dermis subcutaneous tissue

4 เส้นเลือด / เส้นประสาท
Sweat gland Epidermis Keratin Melanin หนังกำพร้า Collagen เส้นเลือด / เส้นประสาท Elastic Cellulite เซลล์ไขมัน หนังแท้ ชั้นไขมัน ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ Dermis เส้นขน subcutaneous tissue

5 ช่องเปิด และท่อต่างๆภายในร่างกาย
ด่านแรกที่ทำหน้าที่ป้องกันร่างกายจากเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม ช่องปาก บุด้วยเยื่อบุผิว น้ำลาย B ไม่ก่อโรค ช่องจมูก มีหลายชั้นทำให้แอนติเจนบางชนิดผ่านไม่ได้ ซิเลีย กระเพาะอาหาร ช่องคอ B ไม่ก่อโรค โบกพัดแอนติเจน ท่อทางเดินหายใจ กลไกป้องกัน ท่อปัสสาวะ กรดอ่อนๆ หลั่งเมือกเหนียวเพื่อดักจับแอนติเจน เยื่อบุอวัยวะสืบพันธุ์ เยื่อบุตาและเปลือกตา น้ำตา ลำไส้ใหญ่ B ไม่ก่อโรค ช่องคลอด ผิวหนัง B ไม่ก่อโรค

6 มีหน้าที่โอบล้อมและจับกินเชื้อโรคแบบฟาโกไซโตซิส (phagocytosis)
น้ำเลือด เซลล์เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง เพลตเลต เม็ดเลือดขาว (Leucocyte หรือ White blood corpuscle) ปกติจะใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงเกือบ 2 เท่า ไม่มีสี เพราะไม่มีฮีโมโกลบิน เซลล์ลีบเล็กผ่านผนังของเส้นเลือดฝอยออกมาได้ เซลล์เม็ดเลือดขาวจะมีอายุสั้น ประมาณ วัน (บางชนิดอาจมีอายุ วัน) เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เซลล์เม็ดเลือดขาว มีหน้าที่โอบล้อมและจับกินเชื้อโรคแบบฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) และอาจสร้างแอนติบอดี (antibody) ออกมาต่อต้านและทำลายสิ่งแปลกปลอม Access date : 23/09/04 

7 แหล่งสร้างเม็ดเลือดขาว
สร้างจาก ไขกระดูกสีแดง (red bone marrow) ต่อมน้ำเหลือง ต่อมไทมัส และม้าม (การสร้างขึ้นอยู่กับระดับของสเตอร์รอยด์ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นนอก) กาจำแนกชนิดเซลล์ของเม็ดเลือดขาวแบบที่ 1  ตามลักษณะของอนุภาคเล็กๆ (granule) ของไลโซโซมจำนวนมากในไซโทพลาสซึม 1. พวกแกรนูลโลไซต์ มีอายุประมาณ วัน พวกที่มีแกรนูลของไลโซโซมจำนวนมากในไซโทพลาสซึม พวกนี้จะสร้างมาจากไขกระดูก - นิวโตรฟิล (neutrophil) - บาโซฟิล (basophil) - อีโอซิโนฟิล (eosinophil หรือ acidophil)

8 2. พวกอะแกรนูลโลไซต์ มีอายุประมาณ วัน 5 - 6 วัน เป็นพวกที่ไม่มีแกรนูลของไลโซโซมอยู่ในโตพลาสซึม พวกนี้ถูกสร้างไขกระดูกและจากอวัยวะน้ำเหลือง ได้แก่ ต่อมไทมัส ต่อมน้ำเหลือง ม้าม - ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) - โมโนไซต์ (monocyte) การจำแนกชนิดเซลล์เม็ดเลือดขาวแบบที่ 2 ในปัจจุบัน มีการจำแนกชนิดของเซลล์เม็ดเลือดขาวตามหน้าที่ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) 2. ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) - ลิมโฟไซต์ชนิด B (B - lymphocyte) หรือ B - cell - ลิมโฟไซต์ชนิด T (T - lymphocyte) หรือ T - cell

9 1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis)
พวกนี้จะเจริญพัฒนาที่ไขกระดูก และอวัยวะน้ำเหลือง บางชนิดมีนิวเคลียสขนาดใหญ่ บางชนิดมีแกรนูลจำเพาะ 1. พวกแกรนูลโลไซต์ สร้างมาจากไขกระดูก มีมาก % เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวประเภทแรกที่ร่างกายใช้กำจัดสิ่งแปลกปลอม และเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว เมื่อย่อยสิ่งแปลกปลอมโดยเฉพาะแบคทีเรียและเนื้อเยื่อที่ตายแล้วนิวโทรฟิลจะตายด้วย จากนั้นจะรวมตัวกันกลายเป็น หนอง หรือ Pus และนูนขึ้นมาจากผิวหนังกลายเป็น ฝี รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด neutrophil    Access date : 6/02/04

10 1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis)
Acidophil แอซิโดฟิล 1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด eosinophil สร้างมาจากไขกระดูก ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้ามาในร่างกาย สารโปรไฟบริโนไลซิน มี % เลือดคงสภาพเป็นของเหลว สร้างมาจากไขกระดูก 1. พวกแกรนูลโลไซต์ เลือกกินเฉพาะองค์ประกอบรวมของแอนติเจน - แอนติบอดี (antigen - antibody complex) เท่านั้น ทำลายสารที่เป็นพิษที่ทำให้เกิดการแพ้สารของร่างกายเช่นโปรตีนในอาหาร ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ พบจำนวนมากขึ้นเมื่อเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ และเมื่อเกิดการติดเชื้อปรสิต เช่น หนอนพยาธิ Access date : 6/2/04

11 รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด basophil
1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) ทำหน้าที่จับสิ่งแปลกปลอมโดยวิธีฟาโกไซโตซิส แต่ความสามารถจะด้อยกว่า ทำหน้าที่หลั่งสาร haparin เป็นสารที่ป้องกันการแข็งตัวของเลือด 1. พวกแกรนูลโลไซต์ มี % สร้างมาจากไขกระดูก มีสาร ฮีสตามีน ปล่อยเมื่อเนื้อเยื่อเกิดการบาดเจ็บ และตอบสนองปฏิกิริยาภูมิแพ้ รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด basophil Access date : 9/3/05

12 ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส
1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด monocyte มีประมาณ % มีอายุ วัน สามารถแบ่งตัวเองเพื่อกินสิ่งแปลกปลอมเพิ่ม มีขนาดใหญ่ กินแบคทีเรียบางชนิดได้ดี และกินเชื้อโรคที่มีขนาดใหญ่ Macrophage 2. พวกอะแกรนูลโลไซต์ ทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส มีความสามารถสูงพอๆกับ neutrophil

13 มีแกรนูลแต่ย้อมไม่ค่อยติดสี
2. ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte - ลิมโฟไซต์ชนิด B (B - lymphocyte) หรือ B - cell เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่สร้างสาร antibody ขึ้นมาต่อต้านสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรค การสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านฮิวเมอรัล Immunity ภูมิคุ้มกัน มีประมาณ % 2. พวกอะแกรนูลโลไซต์ - ลิมโฟไซต์ชนิด T (T - lymphocyte) หรือ T - cell การสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านเซลล์ มีแกรนูลแต่ย้อมไม่ค่อยติดสี

14 การทำงานของเม็ดเลือดขาว
1. phagocytosis เป็นวิธีทำลายเชื้อโรคโดยการกินและย่อยสลายเชื้อโรค 2. immunization เม็ดเลือดขาวบางชนิดจะสร้างสารพวกโปรตีน ที่มีคุณสมบัติต่อต้านสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรค ทำให้แอนติเจนเกาะกันเป็นก้อน จึงหมดความเป็นพิษ หรืออาจถูกทำลายด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ สารที่สร้างขึ้น เรียกว่า antibody เราสามารถใช้ปริมาณเซลล์เม็ดเลือดขาวช่วยในการวินิจฉัยความผิดปกติ ในร่างกายได้ สิ่งแปลกปลอม เรียกว่า antigen

15 รูปภาพแสดงลักษณะการติดสีของเกล็ดเลือด
ชิ้นส่วนของไซโทพลาสซึมของเซลล์เมกะคาริโอไซต์ในไขกระดูกขาดออกเป็นชี้นๆ ขนาดเล็ก รูปร่างไม่แน่นอน ทำหน้าที่ควบคุมการแข็งตัวของเลือดเมื่อเกิดบาดแผลโดยการสร้างเอนไซม์ทรอมโบพลาสติน Access date : 28/09/04  

16 เป็นระบบลำเลียงสารต่าง ๆ ให้กลับเข้าสู่เส้นเลือด
ระบบน้ำเหลือง (lymphatic system)   เป็นระบบลำเลียงสารต่าง ๆ ให้กลับเข้าสู่เส้นเลือด   สร้างเม็ดเลือด ช่วยป้องกันโรค และคืนโปรตีนกลับสู่หลอดเลือด น้ำเหลือง ท่อน้ำเหลือง อวัยวะน้ำเหลือง น้ำเหลือง Lymph เป็นของเหลวที่ซึมผ่านผนังเส้นเลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์หรือรอบ ๆ เซลล์ เพื่อหล่อเลี้ยงเซลล์ ท่อน้ำเหลือง ส่วนประกอบของน้ำเหลืองคล้ายกับในเลือด พบ ฮอร์โมน เม็ดเลือดขาวแต่ไม่มีเม็ดเลือดแดง มีโปรตีน โมเลกุลเล็ก เช่น อัลบูมิน และสารที่มีโมเลกุลเล็ก ๆ เช่น ก๊าซ น้ำ น้ำตาลกลูโคส

17 ท่อน้ำเหลือง Lymph vessel
เป็นท่อที่ติดต่อกันทั่วร่างกายปลายสุดของท่อปิดตันมีขนาดต่าง ๆ กัน ท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่ ท่อน้ำเหลือง ท่อน้ำเหลืองฝอย lymph vessels lymphatic capillary เอออร์ตา อาร์เตอรี อาร์เตอริโอล หัวใจ เส้นเลือดฝอย เวนาคาวา เวน เวนูล ท่อน้ำเหลืองฝอย ท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่ ท่อน้ำเหลือง บริเวณคอ ท่อน้ำเหลืองทอราซิก thoracic duct ท่อน้ำเหลืองทางด้านขวาของลำตัว Right lymphatic duct

18 น้ำเหลือง ท่อน้ำเหลืองฝอย lymphatic capillary
บริเวณหลอดเลือดฝอยจะมีของเหลวซึมผ่านออกไปสู่พื้นที่ระหว่างเซลล์ (intercellular space) อยู่โดยรอบเสมอ Lymph ของเหลวเหล่านี้ส่วนใหญ่จะซึมกลับคืนสู่หลอดเลือดได้เอง แต่บางส่วนจะถูกระบายเข้าสู่ระบบน้ำเหลือง โดยเฉพาะส่วนที่เป็นสารอาหารหรือของเสียที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เริ่มจากการซึมผ่านเข้าสู่หลอดน้ำเหลืองฝอย (lymph capillary) มีลักษณะเป็นท่อปลายปิดตันแทรกอยู่ระหว่างกลุ่มหลอดเลือดฝอย ทำหน้าที่รวบรวมน้ำเหลืองแล้วจึงลำเลียงในทิศทางเดียวเข้าสู่หลอดน้ำเหลืองที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ท่อน้ำเหลือง lymph vessels

19 มีลักษณะคล้ายเส้นเลือดเวน คือมีลิ้นกั้นป้องกันการไหลกลับของน้ำเหลือง
ท่อน้ำเหลือง lymph vessels มีลักษณะคล้ายเส้นเลือดเวน คือมีลิ้นกั้นป้องกันการไหลกลับของน้ำเหลือง ต่อมน้ำเหลือง (lymph node) ระหว่างทางจะมี คั่นอยู่เป็นระยะๆเพื่อทำหน้าที่กรองและกำจัดสิ่งแปลกปลอมบางชนิด จากนั้นจึงระบายเข้าสู่ ท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่ ท่อน้ำเหลืองทอราซิก thoracic duct ท่อน้ำเหลืองทางด้านขวาของลำตัว Right lymphatic duct

20 ท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่
ท่อน้ำเหลืองทอราซิก thoracic duct ท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่ที่สุด ทำหน้าที่รับน้ำเหลืองจากส่วนต่างๆของร่างกายอยู่ทางซ้ายของลำตัว ยกเว้นน้ำเหลืองจากทรวงอกขวา แขนขวา และส่วนขวาของหัวกับคอ Venacava Heart Cell Capillary ท่อน้ำเหลืองทางด้านขวาของลำตัว Right lymphatic duct รับน้ำเหลืองจากทรวงอกขวา แขนขวา และส่วนขวาของหัวกับคอ Venacava Heart Cell Capillary

21 การไหลไปตามท่อน้ำเหลืองอาศัยปัจจัย 3 ประการ คือ
1. การหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อซึ่งเป็นผนังของท่อน้ำเหลือง 2. ความแตกต่างระหว่างความดันไฮโดรสเตติก (ท่อน้ำเหลืองขนาดเล็ก > ท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่) 3. การหายใจเข้า ซึ่งไปมีผลขยายทรวงอกและลดความดันทำให้ท่อน้ำเหลืองขยายตัวทิศทางการไหลของน้ำเหลืองจะไหลเข้าสู่หัวใจทางเดียว โดยภายในท่อน้ำเหลืองมีลิ้นคอยกั้นการไหลกลับของน้ำเหลือง น้ำเหลืองมีอัตราการไหลภายในท่อน้ำเหลืองที่ช้ามาก ประมาณ 1.5 มิลลิเมตรต่อนาที

22 ระบบน้ำเหลือง (lymphatic system) เนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่ลำไส้เล็ก
อวัยวะน้ำเหลือง ต่อมทอนซิล ต่อมน้ำเหลือง ต่อมไทมัส ต่อมน้ำเหลือง ต่อมน้ำเหลือง เป็นศูนย์กลางในการผลิตเซลล์ที่ใช้ในการต่อต้านเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม ม้าม เนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่ลำไส้เล็ก ไขกระดูก

23 อวัยวะน้ำเหลือง ต่อมทอนซิล
Thonsil gland อวัยวะน้ำเหลือง ต่อมทอนซิล เป็นกลุ่มของต่อมน้ำเหลืองมีอยู่ 3 คู่คู่ที่สำคัญอยู่รอบๆหลอดอาหาร ส่วนล่างของเพดานปาก บริเวณผนังด้านหลังจากจมูกด้านใน ด้านหลังโคนลิ้น พาลาไทน์ทอนซิล นาโสฟาริงก์เจียลทอนซิล ลิงกวลทอนซิล ต่อมน้ำเหลืองที่อยู่โพรงด้านหลังจมูก 1-3,4 ปี อากาศและอาหารจะผ่านเข้าสู่ร่างกายบริเวณคอหอย ดังนั้น จึงต้องมีกลไกควบคุม ภายในต่อมทอนซิลจะมีลิมโฟไซต์ทำลายจุลินทรีย์ที่ติดผ่านเข้ามากับอากาศในระบบทางเดินหายใจไม่ให้เข้าสู่หลอดอาหารและกล่องเสียง แหล่งที่มา

24 ถ้าต่อมทอนซิลติดเชื้อจะมีอาการบวมขึ้น เรียกว่า โรคต่อมทอนซิลอักเสบ
ส่วนล่างของเพดานปาก พาลาไทน์ทอนซิล ต่อมนี้จะอักเสบเมื่อติดเชื้อจุลินทรีย์ จึงขยายใหญ่บวมแดง อาจมีฝ้า หนองเกิดขึ้นด้วย โรคต่อมทอนซิลอักเสบ แหล่งที่มา

25 อวัยวะน้ำเหลือง ต่อมไทมัส
สร้างไทโมซินฮอร์โมนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างระบบภูมิต้านทานของร่างกาย เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ตอนอายุน้อย และถ้าอายุมากจะเล็ก ลง และฝ่อในที่สุด ทำหน้าที่สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวกลุ่มลิมโฟไซต์ที่มาจากไขกระดูกแล้วเจริญไปเป็นชนิดเซลล์ Tที่ต่อมไทมัสนี้ เป็นต่อมไร้ท่ออยู่ตรงทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจ มีหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคและสารแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งการต้านอวัยวะที่ปลูกถ่ายจากผู้อื่นด้วย ซึ่งจะถูกปล่อยออกสู่กระแสเลือดและน้ำเหลืองตามส่วนต่างๆของร่างกาย

26 อวัยวะน้ำเหลือง ท่อน้ำเหลือง
ภายในเต็มไปด้วยเม็ดเลือดขาวชนิดโฟไซต์ มีลักษณะคล้ายฟองน้ำทำให้น้ำเหลืองซึมผ่านได้ พบอยู่ระหว่างทางเดินของท่อน้ำเหลืองทั่วไปในร่างกาย เช่น คอ รักแร้ โคนขาลักษณะเป็นรูปไข่ กลม หรือรี เชื้อโรคเข้าทางแขนหรือทางนิ้วมือ ต่อมน้ำเหลือง ต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้บวมโต ต่อมน้ำเหลืองบริเวณโคนขาบวมโต หรือ ไข่ดันบวม เชื้อโรคเข้าทางเท้าหรือขา ด้านล่างเป็นภาพจาก: kair008.exteen.com/ /entry

27 อวัยวะน้ำเหลือง ในระยะเอ็มบริโอม้ามมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด ม้าม
Spleen อวัยวะน้ำเหลือง ในระยะเอ็มบริโอม้ามมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด ม้าม ในระยหลังคลอด ทำลายเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดที่หมดอายุแล้ว นุ่มมีสีม่วง อยู่ด้านหลังกระเพาะอาหารใต้กระบังลมด้านซ้าย รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว ในสภาพผิดปกติ สามารถสร้างเม็ดเลือดแดงได้ เช่น มะเร็งเม็ดเลือด เป็นอวัยวะน้ำเหลืองที่ใหญ่ที่สุด มีเส้นเลือดมาเลี้ยงมากมายไม่มีท่อน้ำ เหลืองเลย สามารถยืดหดได้ สร้างเม็ดเลือดขาว พวกลิมโฟไซต์ และโมโนไซต์

28 อวัยวะน้ำเหลือง เนื้อเยื่อน้ำเหลืองในชั้นใต้เยื่อบุลำไส้
เนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่ลำไส้ อวัยวะน้ำเหลือง เนื้อเยื่อน้ำเหลืองในชั้นใต้เยื่อบุลำไส้ GALT (gut- associated lymphocyte tissue) เป็นอวัยวะน้ำเหลืองอย่างหนึ่งที่ช่วยให้ร่างกายสามารถต่อต้านและกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกายได้ GALT มีเซลล์ทำหน้าที่สอดแนม (sensor) สามารถบอกได้ว่าเชื้อนั้นเป็นเชื้อดี จะไม่สร้างความต้านทานมากำจัด ในโพรงลำไส้มีเชื้อแบคทีเรียหลากหลาย ซึ่งเซลล์จะต้องแยกแยะให้ออกว่าเป็นเชื้อดีหรือเชื้อร้าย แต่ถ้าเป็นเชื้อร้ายก็จะสร้าง secretory IgA ออกมากำจัด เชื้อดีจึงเกาะฉาบบนชั้นเยื่อเมือกหยุดยั้ง แย่งการเกาะจับของเชื้อก่อโรค

29 ภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์
1. ภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด (Innate immunity) 1.1 เหงื่อ มีกรดแลกติกป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง 1.2 หลอดลม โพรงจมูก มีขน ซิเลีย และน้ำเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม 1.3 กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กมีเอนไซม์ 1.4 น้ำลาย น้ำตา น้ำมูก มีไลโซไซม์ ทำลายจุลินทรีย์ได้

30 เกิดจากการนำเชื้อโรคที่อ่อนกำลัง ซึ่งเรียกว่า วัคซีน (vaccine)
2. ภูมิคุ้มกันจำเพาะ (Acquird immunity) การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อต่อต้านเฉพาะโรคของมนุษย์มี 2 วิธี 2.1 ภูมิคุ้มกันก่อเอง (Active immunization) เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโดยการนำสารแอนติเจนมาฉีด กิน ทาที่ผิวหนังเป็นผลให้เมื่อร่างกายได้รับเชื้อนั้นอีกก็จะไม่เป็นโรคนั้น เพราะร่างกายมีภูมิคุ้มกันแล้ว เกิดจากการนำเชื้อโรคที่อ่อนกำลัง ซึ่งเรียกว่า วัคซีน (vaccine) มาฉีด กิน ทา เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อต้านเชื้อนั้นๆ 2.1.1 วัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน และคางทูม วัคซีนที่เป็นสารพิษจากจุลินทรีย์และหมดความเป็นพิษแล้ว เรียกว่า ทอกซอยด์(toxoid) สามารถกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกันได้ โรคคอตีบ บาดทะยัก 2.1.2 2.1.3 วัคซีนที่ได้จากจุลินทรีย์ที่ตายแล้ว เช่น โรคไอกรน ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ข้อดี เมื่อร่างกายถุกกระตุ้นจนสร้างภูมิคุ้มกันได้แล้ว ภูมิคุ้มกันนี้จะอยู่ได้นาน ระยะเวลาที่ร่างกายต้องถูกกระตุ้นจนสร้างภูมิคุ้มกันได้จะยาวนานประมาณ 4 – 7 วัน บางโรคอาการอาจรุนแรงเกินกว่าจะรอได้ ข้อเสีย

31 2.2 ภูมิคุ้มกันรับมา (Passive immunization) เป็นการให้แอนติบอดีหรือภูมิคุ้มกันแก่ผู้ป่วยโดยตรง เพื่อต่อต้านโรคที่แสดงอาการรุนแรงเฉียบพลันในทันที ทำให้ผู้ป่วยรอดตาย ซึ่งภูมิคุ้มกันนี้ต้องเตรียม ซีรัม หรือ เซรุ่ม(Serum)ผลิตจากการฉีดเชื้อโรคหรือพิษที่อ่อนกำลังเข้าในสัตว์บางชนิด เช่น ม้า กระต่าย ลา เพื่อให้ร่างกายของสัตว์สร้างแอนติบอดีออกมา 2.2.1 เมื่อเลือดนั้นมีปริมาณแอนติบอดีที่เหมาะสม ก็จะนำเลือดมากรองเอาเฉพาะส่วนที่เป็นน้ำใสๆออกมาใช้ เพราะจะมีแอนติบอดีละลายอยู่ แล้วนำซีรัมของสัตว์ที่มีแอนติบอดีรักษาโรคในมนุษย์ เช่น โรคพิษสุนัขบ้า , การแก้พิษงู 2.2.2 ภูมิคุ้มกันที่แม่ให้ลูกผ่านทางรกและน้ำนมหลังคลอดก็จัดเป็นภูมิคุ้มกันรับมา เช่นกัน เป็นภูมิคุ้มกันที่สามารถให้กับผู้ป่วยได้โดยตรง กับบางโรคที่มีอาการอาจรุนแรงต้องการรับภูมิคุ้มกันทันที ข้อดี ข้อเสีย หลังใช้ควรติดตามอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพราะบางรายอาจเกิดอาการแพ้เซรุ่มจากสัตว์ได้ ควรตรวจสอบอายุของเซรุ่มก่อนนำไปใช้ เพราะภูมิคุ้มกันนี้จะอยู่ได้ไม่นาน

32 การให้วัคซีนแก่เด็กในวัยต่างๆ วัคซีนที่เด็กควรได้รับ
อายุ วัคซีนที่เด็กควรได้รับ แรกเกิด - วัคซีน BCG ป้องกันวัณโรค และวัคซีนไวรัสตับอักเสบบี ครั้งที่ 1 2 เดือน - วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี ครั้งที่ 2 - วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ครั้งที่ 1 - หยอดวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ครั้งที่ 1 4 เดือน - วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ครั้งที่ 2 - หยอดวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ครั้งที่ 2 6 เดือน - วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี ครั้งที่ 3 - วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ครั้งที่ 3 - หยอดวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ครั้งที่ 3 เดือน - วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน ครั้งที่ 1 โรคหัด

33 การให้วัคซีนแก่เด็กในวัยต่างๆ อายุ วัคซีนที่เด็กควรได้รับ
1 ปีครึ่ง - วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ครั้งที่ 4 - หยอดวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ครั้งที่ 4 วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ ครั้งที่ 1 วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ ครั้งที่ 2 (ห่างจากครั้งแรก 2 สัปดาห์) 2 ปีครึ่ง - วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบ ครั้งที่ 3 ปี หรือ ป.1 - วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ครั้งที่ 5 หยอดวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ครั้งที่ 5 วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน ครั้งที่ 2 หลังจากนี้ให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ทุก 10 ปี

34 1.   2.  เพราะเหตุใดเด็กแต่ละคนจึงต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคหลายชนิด
ร่างกายของมนุษย์มีภูมิคุ้มกันตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาโดย - ร่างกายทารกสามารถสร้างแอนติบอดีได้เองบางส่วน แต่ทำได้เพียงเล็กน้อย ภูมิคุ้มกันก่อเอง - ได้รับแอนติบอดีจากแม่ทางสายสะดือ ภูมิคุ้มกันรับมา เมื่อคลอดออกมาแล้ว จะได้รับภูมิคุ้มกันต่อไปอีก - ได้รับน้ำนมแม่ในระยะหลังคลอด ซึ่งจะมีภูมิคุ้มกันโรคบางชนิด เช่น โรคหัด ภูมิคุ้มกันรับมา แต่ภูมิคุ้มกันนี้มีระยะเวลาทำงานสั้นและไม่ครอบคลุมโรคบางอย่าง และร่างกายทารกยังไม่มีภูมิคุ้มกันโรคติดเชื้ออื่นๆ ดั้งนั้นพ่อแม่จึงต้องนำลูกไปรับวัคซีนเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะโรคเป็นระยะตั้งแต่แรกเกิด เมื่อร่างกายได้รับวัคซีนป้องกันโรคชนิดใดก็ตาม ถ้าร่างกายได้รับเชื้อนั้นอีกจะมีโอกาสเป็นโรคนั้นได้อีกหรือไม่ เพราะเหตุใด 2. อาจจะไม่มีโอกาสเป็น หรือมีโอกาสเป็นอีกก็ได้ ขึ้นอยู่กับระยะของภูมิคุ้มนั้นโรคนั้นๆ การฉีดวัคซีนเป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง Antibody ตอบสนองต่อวัคซีนทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกัน เมื่อได้รับเชื้อนั้นอีกครั้งจะมีไม่มีโอกาสเป็นโรคนั้นได้อีก เช่น โรคคางทูม อีสุกอีใส

35 - ภูมิต้านทานที่สร้างเองตามธรรมชาติ บางชนิดอยู่ในร่างกายตลอดชีวิตเช่น โรคหัด อีสุกอีใส หรือบางชนิดอาจจะอยู่ในร่างกายได้นาน เช่น คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก (ทุก 10 ปี) - โรคบางชนิด เช่น โรคหัดไม่จำเป็นต้องฉีดใน 6 เดือนแรกหลังคลอด เพราะเด็กมีภูมิคุ้มกันที่ได้รับมาจากแม่ วัคซีนโรคหัด - วัคซีนบางชนิดที่เตรียมจากเชื้อที่อ่อนกำลังลงจะมีภูมิคุ้มกันในระยะเวลายาวนาน - วัคซีนบางชนิดที่เตรียมจากเชื้อที่ตายแล้วจะมีภูมิคุ้มกันในระยะเวลาจำกัดเพียง 6 – 2 ปี เช่น ไทฟอยด์ อหิวาห์ตกโรค พิษสุนัขบ้า ไข้หวัดใหญ่ วัคซีนบางชนิดฉีดเพียงครั้งเดียวก็สามารถป้องกันโรคได้ แต่โรคบางชนิดเมื่อเวลาผ่านไปความเข้มข้นของ Antibody ในเลือดจะลดลงเรื่อยๆ จึง จำเป็นต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคบางชนิดเป็นระยะๆ(ที่ต่อเนื่องกัน) เพราะบางชนิดมีระยะเวลา ในการคุ้มกันร่างกายจากโรคไม่เท่ากัน เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง Antibody ในเลือดให้มีความเข้มข้นเพียงพอสำหรับต่อต้านการติดเชื้อ การฉีดวัคซีนต้องคำนึงถึงวัยของเด็กด้วย เช่น วัคซีน BCG ป้องกันวัณโรค ต้องฉีดทันทีหลังคลอด เพราะทารกในไทยมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อวัณโรคตั้งแต่แรกเกิด หญิงตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยงการรับวัคซีนที่เตรียมจากจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เพราะอาจเข้าสู่ตัวทารกและไปเจริญเติบโตเป็นอันตรายต่อทารกได้

36 3. เมื่อเด็กอายุเกินกว่า 6 ปี กำหนดให้รับวัคซีนใดโดยเฉพาะอีกหรือไม่ เพราะเหตุใด เมื่อเด็กอายุเกินกว่า 6 ปี กำหนดให้รับวัคซีนใดโดยเฉพาะอีก เพราะโรคบางชนิดต้องได้รับการกระตุ้นเป็นระยะๆ เพื่อให้ร่างกายสร้าง Antibody ขึ้นมาอีก เช่น คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ไทฟอยด์ อหิวาห์ตกโรค พิษสุนัขบ้า ไข้หวัดใหญ่ อื่นๆ กรณีที่ผู้ใหญ่บางคนไม่มีภูมิคุ้มกันในโรคนั้นๆ มาก่อนก็สามารถรับวัคซีน เพื่อกระตุ้นร่างกายให้สร้าง Antibody ขึ้นมา เช่น วัคซีนไวรัสตับอักเสบ อีสุกอีใส อื่นๆ กรณีที่บางโรคเป็นโรคที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนทำให้ร่างกายไม่มีภูมิคุ้มกันในโรคนั้นๆ เช่น โรคไข้หวัด อื่นๆ กรณีที่เกิดโรคระบาดผู้ใหญ่บางคนไม่มีภูมิคุ้มกันในโรคนั้นๆ มาก่อนก็สามารถรับวัคซีน เพื่อกระตุ้นร่างกายให้สร้าง Antibody ขึ้นมา เช่น วัคซีน BCG ป้องกันวัณโรค

37 ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน สาเหตุ อาการ
Allergy ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน 1. โรคภูมิแพ้มีสาเหตุมาจากอะไร แสดงอาการอย่างไร และมีวิธีป้องกันอะไรบ้าง สาเหตุ โปรตีนหรือสารก่อภูมิแพ้ Allergen ร่างกายมีปฏิกิริยากับจากสิ่งแวดล้อม ร่างกายมีปฏิกิริยากับโปรตีนหรือสารก่อภูมิแพ้ จากสิ่งแวดล้อม ซึ่งปกติจะไม่มีอันตรายสำหรับผู้ที่ไม่แพ้ สิ่งแวดล้อม สร้างภูมิที่เรียกว่า IgE antibody Mast cell อาการ Basophil จะเกิดตามอวัยวะต่างๆ เช่นลมพิษที่ผิวหนัง คัดจมูก แน่นหน้าอกเนื่องจากหอบหืด บางรายอาจจะรุนแรงถึงกับเสียชีวิตได้ Anaphylaxis shock Histamin เนื้อเยื่อต่าง เช่น ผิวหนัง ปอด จมูก ลำไส้ ทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะต่างๆ

38 สาเหตุ การป้องกัน ตัวอย่างโรคที่เกิดจากภูมิแพ้
กรรมพันธุ์ ผู้ที่มีประวัติภูมิแพ้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมของเด็ก ในขวบปีแรกสำคัญมาก การสัมผัสควันบุหรี่ ไรฝุ่น เกสรดอกไม้ อื่นๆ การมีเชื้อ lactobacillus ในลำไส้ ตัวอย่างโรคที่เกิดจากภูมิแพ้ โรคหอบหืด แพ้อาหาร  ลมพิษ urticaria แพ้ยา แพ้แมลง แพ้ยาง โรคภูมิแพ้หรืออาการคัดจมูก สาเหตุ การรับประทานอาหารสำเร็จรูป การติดเชื้อไวรัสในวัยเด็ก การอาศัยใกล้ฟาร์มสัตว์ ตัวไร Mite การป้องกัน สารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ที่พบบ่อย ไรฝุ่น แมลงสาบ เชื้อรา เรณูหรือเกสรดอกไม้ และหญ้า สะเก็ดรังแคของสัตว์ (แมว สุนัข ม้า) อาหาร(ไข่ขาว นม แป้งสาลี ถั่วเหลือง อาหารทะเล ถั่ว) เหล็กไนของผึ้งและตัวต่อ ยา ยางพารา การหลีกเลี่ยง หรือนำสิ่งที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ ออกจากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เป็นการรักษา ที่สำคัญที่สุดในการรักษาโรคภูมิแพ้ ซึ่งจะทำให้ลดอาการของโรคภูมิแพ้ และลดปริมาณการใช้ยาลงได้

39 เช่น ถ้าจับที่ผิวหนัง ถ้าจับกับไตก็จะทำให้เกิด
โรคร่างกายสร้างภูมิต้านทานเนื้อเยื่อตนเองมีสาเหตุมาจากอะไร แสดงอาการอย่างไร และมีวิธีป้องกันอะไรบ้าง 2. โรค เอส แอล อี (Systemic Lupus Erythematosus - SLE) หรือโรคลูปุส / ลูปัส (มีชื่อเป็นภาษาไทยว่า "โรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง") เป็นโรคที่เกิดจากภูมิต้านทานในร่างกายของเราชนิดหนึ่ง ภูมิต้านทานในร่างกายของเราชนิดหนึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงไปซึ่งปกติจะมีหน้าที่จับและทำลายสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคจากภายนอกร่างกาย แปรเปลี่ยนเป็นต่อต้านและทำลายอวัยวะต่างๆ ในร่างกายเสียเอง จนทำให้อวัยวะเกิดการอักเสบอย่างต่อเนื่องและเรื้อรัง ขึ้นกับว่าจะจับอวัยวะใด ANTIBODIES เช่น ถ้าจับที่ผิวหนัง ก็จะทำให้เกิดผื่น จับกับเยื่อหุ้มข้อ ก็จะเกิด ข้ออักเสบขึ้น จัดเป็นโรคที่เรื้อรังชนิดหนึ่ง ถ้าจับกับไตก็จะทำให้เกิด การอักเสบของไต

40 ในปัจจุบันเรายังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรค เอส แอล อี แน่ชัด
แต่มี หลักฐานที่บ่งบอกว่าจะเกิดจากปัจจัยเหล่านี้ร่วมกัน คือ สาเหตุ กรรมพันธุ์ นอกจากนี้เรายังทราบว่ามีปัจจัยบางอย่างที่ทำให้ผู้ป่วยที่เป็น หรือมีโอกาสเป็นโรค เอส แอล อี มีอาการรุนแรงขึ้นเช่น ฮอร์โมนเพศหญิง ภาวะติดเชื้อบางชนิด โดยเฉพาะเชื้อไวรัส แสงแดดโดยเฉพาะ แสงอุลตร้าไวโอแลต ยาบางชนิด การตั้งครรภ์ แสดงออกได้หลากหลายลักษณะ อาจมีอาการเฉียบพลันและรุนแรง หรือมีอาการค่อยเป็นค่อยไปเป็นระยะเวลานานหลายปี มีอาการแสดงออกของอวัยวะในร่างกายพร้อมๆ กันหรือแสดงออกเพียงทีละหนึ่งอวัยวะก็ได้ และมีอาการเป็น ๆ หาย ๆ อาการ

41 การป้องกัน การรักษา เมื่อไรควรสงสัยว่าเป็นโรค เอส แอล อี
3. เมื่อมีผมร่วงมากขึ้น 1. เมื่อมีไข้ไม่ทราบสาเหตุ นานเป็นเดือน 4. เมื่อมีอาการบวมตามหน้าตามเท้า 2. เมื่อมีผื่นคันที่หน้าโดยเฉพาะเวลาถูกแสงแดด 5. เมื่อมีอาการปวดบวมตามข้อ การป้องกัน สภาพการเกิดโรคหรือสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคยังไม่ทราบแน่ชัด การรักษา ทั้งผู้ป่วยและแพทย์จะต้องมีความเข้าใจลักษณะของโรคที่ถูกต้องดังต่อไปนี้ ความต่อเนื่องและสม่ำเสมอของการรักษาผู้ป่วยโดยเฉพาะในช่วง 2 ปีแรก ในปัจจุบันมียาปฏิชีวนะดี ๆที่สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อของผู้ป่วยได้ดีกว่าสมัยก่อน ทำให้ความอยู่รอดของผู้ป่วย เอส แอล อีในปัจจุบันดีกว่าสมัยก่อนมาก สิ่งสำคัญในการรักษาโรค เอส แอล อี ซึ่งเป็นโรคเรื้อรัง ขึ้นอยู่กับ การเลือกใช้ยาที่ถูกต้อง ทั้งชนิด ขนาด และการให้ยาตามจังหวะของโรค แต่สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การปฏิบัติตัวที่ดีของผู้ป่วย การมารับการตรวจรักษาสม่ำเสมอตามนัด และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์และพยาบาลอย่างเคร่งครัด

42 3 โรคเอดส์มีสาเหตุมาจากอะไร แสดงอาการอย่างไร และมีวิธีป้องกันอะไรบ้าง AIDS Acquired Immune Deficiency Syndrome สาเหตุ เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเพราะร่างกายได้รับเชื้อไวรัส HIV เช่น วัณโรคในปอด หรือต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบางชนิด หรือเป็นมะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งจะเข้าไปทำลาย เม็ดเลือดขาว ที่เป็นแหล่งสร้าง ภูมิคุ้มกันโรค โรคฉวยโอกาส ทำให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทำให้ติดเชื้อโรคฉวยโอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่างๆ เหล่านี้ ทำให้อาการจะรุนแรง และเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว

43 ทารกติดเชื้อจากแม่ที่มีเชื้อเอดส์
การร่วมเพศ การรับเชื้อทางเลือด ทารกติดเชื้อจากแม่ที่มีเชื้อเอดส์ อาการ ระยะที่ 1 : ระยะที่ไม่ปรากฏอาการ Asymptomatic stage ผู้ติดเชื้อจะมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีอาการผิดปกติแต่อย่างใด ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่จะอยู่ในระยะนี้ และบางคนไม่ทราบว่า ตัวเองติดเชื้อ จึงอาจแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น ระยะที่ 2 : ระยะที่มีอาการ Symptomatic stage ในอัตราร้อยละ 30 2.1 ระยะเริ่มปรากฏอาการ Symptomatic HIV Infection ภายหลังจากได้รับเชื้อประมาณ 7-8 ปี อาการที่พบคือ มีเชื้อราในปาก ต่อมน้ำเหลืองโต งูสวัด มีไข้ ท้องเสีย น้ำหนักลด มีตุ่มคันบริเวณผิวหนัง

44 ระยะที่ 2.2 ระยะโรคเอดส์เต็มขั้น หรือที่ภาษาทางการเรียกว่า โรคเอดส์ AIDS
ระยะโรคเอดส์ เป็นระยะที่มีภูมิต้านทานลดลงมาก ทำให้ติดโรคติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่ายขึ้น เช่น วัณโรคจะมีอาการไข้เรื้อรัง ไอเป็นเลือด หอบ น้ำหนักลด ปอดบวมจากเชื้อPneumocystis Carinii จะมีไข้ ไอแห้งๆ หอบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ จากเชื้อ Cryptococcus จะมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้อาเจียน เชื้อราในทางเดินอาหาร จะมีอาการเจ็บคอ กลืนลำบากมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Non-Hodgkin's Lymphoma) มะเร็งหลอดเลือด (Kaposi's Sarcoma) อาการเป็นจ้ำสีม่วงแดงหรือคล้ำตามผิวหนัง ในคนไทยพบน้อยมาก

45 ใครบ้างที่ควรตรวจหาเชื้อเอดส์
รักเดียว ใจเดียว หากจะมีเพศสัมพันธ์กับหญิง ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง ที่มีเพศสัมพันธ์ ขอรับบริการปรึกษา เรื่อง โรคเอดส์ ก่อนแต่งงาน และก่อนที่จะมีบุตรทุกท้อง ไม่ดื่มเหล้า และงดใช้สารเสพติดทุกชนิด การป้องกัน AIDS - ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยง และต้องการรู้ว่าตนเองติดเชื้อเอดส์หรือไม่ - ผู้ที่ตัดสินใจจะมีคู่ หรืออยู่กินฉันท์สามีภรรยา - ผู้ที่สงสัยว่า คู่นอนของตนจะมีพฤติกรรมเสี่ยง - ผู้ที่คิดจะมีบุตร ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของแม่และลูก - ผู้ที่ต้องการข้อมูลสนับสนุนเรื่องความปลอดภัย และสุขภาพของร่างกาย เช่น ผู้ที่ต้องไปทำงานในต่างประเทศ (บางประเทศ) ใครบ้างที่ควรตรวจหาเชื้อเอดส์ ขณะนี้ยังไม่มียารักษาโรคเอดส์ให้หายได้ ยาที่ใช้ปัจจุบันจะช่วยยับยั้ง ไม่ให้ไวรัสเอดส์เพิ่มจำนวนมากขึ้น ในร่างกายผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วยเอดส์จะมีสุขภาพแข็งแรง สามารถทำงานได้ตามปกติ การรักษา

46 ตารางแสดงชนิดแอนติเจนและแอนติบอดีของการจัดหมู่เลือดระบบ ABO หมู่เลือด
แอนติเจนที่ผิวเซลล์เม็ดเลือดแดง แอนติบอดีในน้ำเลือด A ชนิด A แอนติ - B B ชนิด B แอนติ - A AB มีทั้งชนิด A และชนิด B -- O มีทั้งแอนติ - A และแอนติ - B ตารางแสดงชนิดแอนติเจนและแอนติบอดีของการจัดหมู่เลือดระบบ Rh

47 รูปภาพแสดงลักษณะสเมียร์เลือดติดสีแดงเกินไป
รูปภาพแสดงลักษณะสเมียร์เลือดติดน้ำเงินเกินไป Access date : 24/09/04  Access date : 23/09/04

48 รูปภาพตัวอย่างแสดงตะกอนสบนสเมียร์เลือด
รูปภาพตัวอย่างแสดงสเมียร์เลือดติดสีซีดหรือไม่ติดสี Access date : 1/12/04 Access date : 12/03/05

49 รูปภาพประกอบวิธีการย้อมสีสเมียร์เลือดด้วยวิธี manual

50

51


ดาวน์โหลด ppt ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google