งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล

2 เป้าหมายของการกำหนดตัวชี้วัด
เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการกำกับ ติดตามการปฏิบัติงานที่เน้นผลลัพธ์ ซึ่งสอดคล้องกับการปฏิบัติงานในระดับฝ่ายการพยาบาล

3

4 การแบ่งประเภทของตัวชี้วัด
ฝ่ายการพยาบาลได้แบ่งตัวชี้วัดออกเป็น 4 ประเภทคือ 1.องค์กร เป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงการบริหารจัดการระบบบริการที่มีประสิทธิภาพขององค์กร ซึ่งมีตัวชี้วัด 7 ตัว 2.ผู้ป่วย เป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงคุณภาพของบริการที่ผู้รับบริการ คือ ผู้ป่วย ได้รับจากองค์กร ซึ่งมีตัวขี้วัด 18 ตัว 3.บุคลากร เป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงการเตรียมความพร้อมในการให้บริการโดยบุคลากรที่มีคุณภาพขององค์กร ซึ่งมีตัวชี้วัด 10 ตัว 4.ชุมชน เป็นตัวชี้วัดที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility, CSR)ขององค์กร ซึ่งมีตัวชี้วัด 1 ตัว

5 มิติคุณภาพ Input Patient Care Process Outcome
Competency ความสามารถของรพ. ในการดูแลผู้ป่วยโรคนั้นๆ ศักยภาพของบุคลากร ยา เทคโนโลยีและบริการที่ได้เหมาะสมกับสถานพยาบาลระดับตนเอง Accessibility การเข้าถึงบริการ ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการที่จำเป็นได้ตามข้อบ่งชี้ และในเวลาที่สมควร Patient Care Process Responsiveness การตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว ทีมมีวิธีการในการรับรู้และไวต่อปัญหาและความต้องการ ของผู้ป่วยและครอบครัว Appropriateness ความเหมาะสมในการดูแลผู้ป่วยถูกต้องตามข้อบ่งชี้ตามความจำเป็นของผู้ป่วยและหลักวิชาการ Timeliness ความทันต่อเวลาทันการณ์ในการรับรู้ปัญหาและให้การดูแลในขั้นตอนที่สำคัญ Holistic/ Humanized Care การดูแลด้วยหัวใจและความรัก การดูแลอย่างองค์รวม Continuity ความต่อเนื่อง ผู้ป่วยได้รับบริการอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ มีการประสานงานที่ดี ทั้งที่บ้านและที่โรงพยาบาล Outcome Acceptability การยอมรับและความพึงพอใจของผู้ป่วยตามขั้นตอนการดูแล Coverage ความครอบคลุม ปริมาณผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยง Equity ความเป็นธรรมหรือความเท่าเทียมกัน Efficiency ประสิทธิภาพ มีการใช้ทรัพยากรทุกด้านอย่างคุ้มค่า Effectiveness ประสิทธิผล การบริการบรรลุถึงผลลัพธ์ตามความคาดหวังหรือเป็นไปตามที่ควรจะเป็น Safety ความปลอดภัยของผู้ป่วย ระดับความเสี่ยงต่อผลลัพธ์ทางลบ ความผิดพลาด และผลข้างเคียงที่ไม่ต้องการ

6 รหัส ชื่อ ประเภท หมวด ลำดับ 1 อัตราหอผู้ป่วยที่มีสัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพต่อผู้ช่วยพยาบาลถูกต้องตามเกณฑ์ 2 อัตราหอผู้ป่วยที่มีสัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพต่อผู้ป่วยถูกต้องตามเกณฑ์ 3 อัตราหอผู้ป่วยที่มีการจัดชั่วโมงการพยาบาลที่ให้ : จำนวนชั่วโมงการพยาบาลที่ผู้ป่วยต้องการ มีความสมดุลกัน(provided NHPPD : required NHPPD) 4 อัตราหอผู้ป่วยที่มีผลิตภาพทางการพยาบาล(nursing productivity) อยู่ในค่าที่กำหนด 5 อัตราบันทึกทางการพยาบาลที่มีคุณภาพ 6 จำนวนแนวปฏิบัติทางคลินิกโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBP)/ งานวิจัย/ R to R/ mini researchที่ได้รับการพัฒนา/ ทบทวน 7 ผลลัพธ์การนำการจัดการความรู้ที่นำมาใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน

7 รหัส ชื่อ ประเภท หมวด ลำดับ 2 1 จำนวนอุบัติการณ์ที่รุนแรง อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อการบริการของเจ้าหน้าที่ อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกต่อการบริการ 3 ความพึงพอใจต่อการจัดการความเจ็บปวด: ความปวดหลังผ่าตัด ความพึงพอใจต่อการจัดการความเจ็บปวด : ความปวดในผู้ป่วยมะเร็ง ความพึงพอใจต่อการจัดการความเจ็บปวด 4 อัตราการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล 5 อัตราผู้ป่วยพลัดตก หกล้ม(Falling)

8 รหัส ชื่อ ประเภท หมวด ลำดับ 2 6 1 อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ(Ventilators associated pneumonia : VAP) อัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดสะอาด (Surgical site infections : SSI, Clean wound) 3 อัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (catheter related blood stream infections : CR BSI) 4 การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ(Catheter associated urinary tract infections : CAUTI) 7 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication error) 8 อัตราการติดตามการดูแลตนเองหลังจำหน่าย 9 อัตราท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด 10 ความชุกของการเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ (Phlebitis) 11 อัตราผู้ป่วยที่มีระยะเวลาในการให้การพยาบาลที่สำคัญที่มีผลต่อการวินิจฉัยและรักษาในกลุ่มเสี่ยงตามกำหนด (Service cycle time) 12 อัตราความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วย

9 รหัส ชื่อ ประเภท หมวด ลำดับ 3 1 สมรรถนะของบุคลากรอยู่ในระดับมาตรฐาน: Core & Role competency 2 สมรรถนะของบุคลากรอยู่ในระดับมาตรฐาน: Specific competency อัตราการลาออก โอนย้ายของพยาบาล (Turn over rate) อัตราความพึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาล 4 อัตราความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรทางการพยาบาล 5 อุบัติการณ์การบาดเจ็บจากการทำงาน : Needle stick/ Sharp injury/ Body fluid exposure อุบัติการณ์การบาดเจ็บจากการทำงาน 6 อุบัติการณ์การเจ็บป่วยจากการทำงานของบุคลากร อุบัติการณ์การเจ็บป่วยของบุคลากรจากการสัมผัสโรคติดต่อ/ ติดเชื้อ 7 จำนวนข้อร้องเรียนด้านพฤติกรรมการให้บริการพยาบาล จำนวนกิจกรรมเพื่อสังคม เช่น การออกแจกผ้าห่ม ช่วยน้ำท่วม การจัดวิทยุชุมชน

10 อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อการบริการของเจ้าหน้าที่
รหัส KPI 2.2.1 ชื่อ อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อการบริการของเจ้าหน้าที่ นิยาม/ คำอธิบาย ความพึงพอใจของผู้ป่วยในต่อการบริการของเจ้าหน้าที่ หมายถึง การสอบถามผู้ป่วยที่กำลังรับการรักษาในโรงพยาบาล ถึงความพึงพอใจในการบริการที่ได้โดยใช้แบบสอบถามของโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ หมายถึง เจ้าหน้าที่พยาบาล โดยแบบสอบถามของโรงพยาบาลได้มีคำถามด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่ (พยาบาล) ระดับความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความพึงพอใจต่อการบริการของบุคลากรทางการพยาบาลเท่านั้น โดยคะแนนความพึงพอใจมี 5 ระดับ คือ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก และมากที่สุด นำมาแปลผลเฉพาะความพึงพอใจที่อยู่ระดับ มาก- มากที่สุด เท่านั้น มุมมองตาม BSC ด้านลูกค้า (Customer Perspective) มิติคุณภาพ Acceptability เป้าประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนาการจัดการด้านคุณภาพทางการพยาบาล (Nursing Quality Management) สูตรคำนวณ จำนวนผู้ป่วยในที่พึงพอใจต่อการบริการระดับมาก-มากที่สุด x 100 จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมดที่ตอบแบบสอบถาม เกณฑ์คุณภาพ ค่ายิ่งมาก แสดงถึง มีคุณภาพดี ค่าเป้าหมาย มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 การเทียบเคียงตัวชี้วัด เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา (ปี 2555 = 92.86, ปี 2556 = 90.46) วิธีเก็บข้อมูล งานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลเป็นผู้กำหนดจำนวนผู้ป่วยที่แต่ละหอผู้ป่วยจะให้แบบสอบถาม โดยทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง เดือนกรกฎาคม หน่วยงานที่รับผิดชอบวิเคราะห์และรายงานผล หน่วยวิจัย ชำนาญการและวิเคราะห์งาน (งานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล) กำหนดเวลาการรายงาน ปีละ 1 ครั้ง (กันยายน)

11 รหัส KPI 2.4 ชื่อ อัตราการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล นิยาม/ คำอธิบาย การเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล หมายถึง การที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเกิดแผลกดทับทุกระดับ จำนวนวันนอนของผู้ป่วยในทั้งหมด หมายถึงผลรวมของจำนวนผู้ป่วยในทั้งหมดในแต่ละวัน รวมตามช่วงเวลาที่กำหนด ซึ่งหน่วยสถิติของโรงพยาบาลจะเป็นผู้รายงานผลทุกวันที่ 15 ของเดือนถัดไป มุมมองตาม BSC ด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) มิติคุณภาพ Safety เป้าประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาการจัดการด้านคุณภาพทางการพยาบาล (Nursing Quality Management) สูตรคำนวณ จำนวนผู้ป่วยที่มีแผลกดทับระหว่างอยู่ในโรงพยาบาลใน 1 เดือน x1,000 จำนวนวันนอนของผู้ป่วยในทั้งหมดในเดือนเดียวกัน เกณฑ์คุณภาพ ค่ายิ่งน้อย แสดงถึง มีคุณภาพดี ค่าเป้าหมาย ≤ 1.5 ต่อ 1000วันนอน การเทียบเคียงตัวชี้วัด UHOSNEST และ ชมรมเครือข่ายพัฒนาการพยาบาล วิธีเก็บข้อมูล หอผู้ป่วยรายงานในโปรแกรมรายงานอุบติการณ์ทุกครั้งเมื่อพบแผลกดทับ โดยรายงานเป็นผู้ป่วยรายคน และระดับแผลที่เกิด(กรณีที่มีหลายแผลในครั้งเดียวกันให้รายงานระดับที่รุนแรงที่สุด) หน่วยงานที่รับผิดชอบวิเคราะห์และรายงานผล กรรมการพัฒนาบริการสู่ความเป็นเลิศ กลุ่ม Ostomy กำหนดเวลาการรายงาน รายไตรมาส (มกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม) สรุปผลการดำเนินงานปีละ 2 ครั้ง (เมษายน และตุลาคม)

12 การติดตามตัวชี้วัด KPI

13

14 R= สรุปผลการดำเนินงาน

15 Gap Evaluation ปี 2559 PLAN GAP ตัวชี้วัดบางตัวไม่สามารถตอบคุณภาพ ได้
ขาดผู้ติดตาม และวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานตัวชี้วัดไม่มีระบบเตือนเมื่อ ตัวชี้วัดบางตัวมีผลกระทบต่อองค์กร (Danger Indicators) เช่น การ ลาออกของพยาบาลที่มีอายุทำงาน ปี ที่เพิ่มขึ้น ไม่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลไม่สมบูรณ์ ทบทวนตัวชี้วัดของฝ่ายการพยาบาล ให้ สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ ภารกิจ และ ยุทธศาสตร์ขององค์กร ครอบคลุมทั้ง Performance Indicators และ Danger Indicators พัฒนาระบบ IT ให้สะดวกในการรายงาน ตัวชี้วัด มีการประมวลผลเป็นสารสนเทศ เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ และการ ตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง กำหนดหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบติดตามตัวชี้วัด ที่สำคัญ

16 ผลการเทียบเคียงในชมรมเครือข่ายพัฒนาทางการพยาบาล
โรงพยาบาลขนาดใหญ่ รหัส ULF (6) โรงพยาบาลขนาดกลาง รหัส UMF (7) โรงพยาบาลขนาดเล็ก รหัส USF (13) โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ขอนแก่น โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์วชิร พยาบาล โรงพยาบาลตำรวจ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พอ. โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลจันทรุเบกษา พอ. โรงพยาบาลชลประทาน โรงพยาบาลปทุมธานี โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า พร. โรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทียบเคียง 4 ตัวชี้วัด คือ พลัดตกหกล้ม การจัดการความปวดเรื้อรัง ความชุกแผลกดทับ Med error

17 ความคลาดเคลื่อนทางยา
ผลการเทียบเคียงความเจ็บปวดเรื้อรัง การพลัดตกหกล้ม ระดับC-I ค่าเฉลี่ย 0.15/1000 วันนอนรวม ระดับD-I ค่าเฉลี่ย 0.15/1000 วันนอนรวม ตัวชี้วัด 2557 2558 ระดับ C-I 0.27 0.20 อันดับเทียบเคียง 3/5 2/5 ระดับ D-I 0.18 5/5 ผลการเทียบเคียงความชุกแผลกดทับ เทียบเคียง 2 ครั้งต่อปี ความคลาดเคลื่อนทางยา 2556 2557 2558 2559 ระดับ D up 0.41 0.37 0.4 0.36 อันดับเทียบเคียง - 2/6 4/6 3/5

18 T-SIMPLE-D T O D BACK Training Risk On the job Risk control โอกาสพัฒนา
การพัฒนา/แก้ไข T Training Risk Procedure/ surgical complication from trainee การเปลี่ยนยี่ห้อของเครื่อง Infusion pump ทำให้เกิดอุบัติการณ์ จากการใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง . อบรมการใช้เครื่องกับบริษัทโดยตรง ทำ VDO การใช้เครื่อง O On the job Risk control S: safety surgery มีการกำหนดแนวทางการระบุตำแหน่งผ่าตัดตั้งแต่หอผู้ป่วยถึงห้องผ่าตัด แต่ยังพบอุบัติการณ์ระดับ B ครั้ง ยังพบการปฏิบัติไม่ครอบคลุมทุกขั้นตอนในห้องผ่าตัด ทบทวนกับPCT I: infection control พบการระบาดของเชื้อดื้อยา (VRE, CRE) การจัดunit รับเฉพาะที่พิเศษ 5 กำหนดแนวทางปฏิบ้ติและการเตรียมอุปกรณ์ป้องกัน ICลงพื้นที่จริงเมื่อพบผู้ป่วยรายใหม่ M: medication error ผิดพลาดกลุ่มยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยเด็ก(ขั้นตอนการสั่งยา การถ่ายทอดคำสั่งยา การบริหารยาเกิดwrong dose) PCTทบทวนระบบยา และปรับปรุง การสั่งยาเคมีบำบัด กำหนดข้อมูลที่จำเป็นในการสั่งยา โดยให้ระบุอายุและน้ำหนักเด็ก ถ่ายทอดคำสั่งยาโดยใช้ copy order ให้เภสัช การจัดเก็บยา LASA ในห้องเคมีบำบัด การตรวจสอบซ้ำก่อนบริหารยา P: patient care process Fallingมีความรุนแรงในกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุ และมีญาติเฝ้า ทบทวนการประเมินผู้ป่วย และญาติในการรับรู้ความเสี่ยง L: line/ tube จากอบ. พบมากในกลุ่มผู้ป่วยมีภาวะสับสน และจากการติดตามการRe intubation พบว่ามี60% ที่ไม่ต้อง re intubate ทบทวนการใช้ CAM- ICU ประสิทธิภาพการผูกยึด การใช้อุปกรณ์ถุงมือ ติดตามการใช้ weaning protocol E: emergency response Unplaned CPR/ intubation/ admit ICU& Sub ทบทวนเหตุผลของการเกิด unplaned warning sign D D down level review Patient Identify error แนวโน้มไม่ลดลง (ปี 57,58,59 (6 เดือน) มี 104,99, 54) สุ่มตรวจการปฏิบัติตามแนวทาง สร้างสื่อรณรงค์หลายรูปแบบ กำหนดเป็นเข็มมุ่งของฝ่าย BACK

19 ข้อมูล unplanned ต่างๆ (มกราคม- เมษายน 2559)
วิเคราะห์ การพัฒนา Unplanned CPR 87 พบในหอผู้ป่วยสามัญ 55.17% ส่งเวรด้วยHigh Alert Pt. มีการใช้Alarm sign, MEWS Competency CPRทั้งBLS & ALS และกำหนดให้หน่วยงานมีBLS Instructor มีการทบทวนในPCT (ตัวอย่างในผู้ป่วยออร์โธฯ มีแนวปฏิบัติในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่มwarfarin) Unplanned intubate 216 พบในหอผู้ป่วยสามัญ 93.52% Unplanned admit to ICU/Sub ICU 192 Re intubate 24 hr 10 - พบในกลุ่มผู้ป่วยICU/Sub ICU ที่มีภาวะ deliriumและในกลุ่มที่รอ off tube ทบทวนการใช้ CAM- ICUกับการผูกยึด การใช้อุปกรณ์ถุงมือในงานศัลย์(ยังพบผู้ป่วยดึงท่อหายใจ มี60% ที่ไม่ต้อง re intubate นำไปสู่การทบทวนต่อ) ใช้ weaning protocol Revisit to ICU/Sub ICU in 24 hr. 1 มีการนำเกณฑ์ในการรับ/ย้ายผู้ป่วย Prioritization model , MEWS ในICUM Plan กำหนดคำอธิบายและหัวข้อการวิเคราะห์ให้ชัดเจน

20


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google