ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA) โดย นางปองวลัย พัวพันธ์ ผู้อำนวยการส่วนเอเชีย ตะวันออก สำนักเอเชีย แอฟริกา และ ยุโรปตะวันออก กรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ
ศักยภาพของจีน อันดับ 1 ของโลก เศรษฐกิจขยายตัว 6.7 % 1,382 ล้านคน เศรษฐกิจขยายตัว 6.7 % ซึ่งอยู่ในระดับสูงกว่าประเทศ/ภูมิภาคที่มี GDP ลำดับต้นๆของโลก (สหรัฐฯ อียู ญี่ปุ่น) ขนาดอันดับ 2 ของโลก 10.72 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ จีนเป็นคู่ค้าอันดับที่ 1 ของไทย (ตลาดส่งออกและนำเข้าอันดับที่ 1 ของไทย) ขณะที่ไทยเป็นตลาดส่งออกอันดับที่ 15 และเป็นตลาดนำเข้าอันดับที่ 10 ของจีน รายใหญ่ในด้านการนำเข้า การส่งออก แหล่งรองรับการลงทุนจากต่างประเทศ และแหล่งที่มาของการลงทุนจากต่างประเทศ คู่ค้าอันดับ 1 ของไทย นักลงทุนอันดับ 3 ของไทย มีบทบาทในเวทีโลกมากขึ้น ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการพัฒนาต่างๆ มหาอำนาจที่ฝ่ายคานอำนาจ ด้านต่างๆ ของสหรัฐฯ และพันธมิตรของสหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชียด้วย
นโยบายที่สำคัญของจีน OBOR / BRI สร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคที่เอื้อประโยชน์แก่ทุกฝ่าย ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการขยายตลาด เพิ่มความคล่องตัวของปัจจัยทางเศรษฐกิจและการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ Internet Plus เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพบริการของรัฐ เพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงบริการของรัฐ ลดขั้นตอนและเพิ่มความพึงพอใจในบริการ One Belt One Ray สร้างตลาดใหม่สำหรับสินค้าและบริการที่เป็นนวัตกรรม ส่งเสริมวิธีการที่ใช้เทคโนโลยีที่สูงขึ้นในสาขาต่างๆ อาทิ เกษตรกรรม พลังงาน การเงิน บริการของรัฐ โลจิสติกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การจราจร ชีววิทยา ปัญญาประดิษฐ์ Made in China 2025 Internet Plus The governance has been a major initiative to improve the quality and efficiency of government services, The internet has not only provided people with more access to public services, but has helped the government improve its administration. The “Internet Plus government services” model promote better information sharing between government departments, so that the public and businesses need to make fewer visits to government departments to get things done, find procedures simpler, and find the service satisfactory. We will cut red tape and root out illegalities to ensure that the people have more equal opportunities and greater space for creativity. Made in China The plan was introduced in May 2015 "Made in China 2025" proposal aims to boost manufacturing innovation and promote home-grown products. The program aims to increase the domestic content of core materials to 40% by 2020 and 70% by 2025. China is focused on creating innovation centers, which will build a foundation for industrial development and generate a greater variety of high-end equipment. One Belt One Ray It aims to support higher-tech approaches in agriculture, energy, finance, public services, logistics, e-commerce, traffic, biology and เพิ่มการใช้นวัตกรรมในการผลิต เพิ่มการใช้ Domestic content ในการผลิตวัตถุดิบหลักถึง 70 % ภายในปี 2568 สร้างศูนย์นวัตกรรมต่างๆสำหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม
นโยบายของจีนที่สอดคล้องกับไทย China Thailand Infrastructure Connectivity ต้องการเป็น ASEAN’s logistic hub เชื่อมโยงในภูมิภาคและทั่วโลก พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โครงการ EEC OBOR & Six regional economic corridors ไทยสนับสนุน OBOR เพราะถือว่าเป็น Platform สำหรับการส่งเสริมการค้าและการลงทุนที่เป็นรูปธรรมกับทุกประเทศ รวมถึงอาเซียนและไทย ความเชื่อมโยงด้านการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน รวมถึงข้อมูลและดิจิทัล ตามนโยบาย Internet Plus & Information Highway ของจีน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของไทย ที่เน้นการพัฒนา Digital Economy ของไทย เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากการบริหารจัดการข้อมูลต่างๆ ด้วยระบบดิจิทัลและอินเตอร์เน็ต Digital Connectivity Digital Economy Transformation อัพเกรด Internet Highway E-Commerce Platform Internet Plus
นโยบายของจีนที่สอดคล้องกับไทย China Thailand Science, Technology and Innovation ส่งเสริม Startup ตั้ง Cyber Security Consortium พัฒนา Lab Infrastructure พัฒนา Smart City พัฒนาบุคลากร เช่น Chief Technology Officer และ Programmer พัฒนาความรู้ด้าน STEM ความร่วมมือด้านดาวเทียมและ การยกระดับสถานรับสัญญาณ ต้องการเป็นผู้นำระดับโลกในด้านนี้ มีนโยบายส่งเสริม อาทิ ยกระดับห่วงโซ่มูลค่า สนับสนุนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมในภาคการผลิตและภาคบริการ เป็นแหล่งลงทุนทาง R&D ระดับต้นๆของโลก มีสิทธิบัตรมากมาย และมีผู้ประกอบการรุ่นใหม่ วิศวกรและนักวิทยาศาสตร์จบใหม่จำนวนมาก
นโยบายของจีนที่สอดคล้องกับไทย Industrial Cluster China Made in China 2025 Thailand ไทยและจีนต่างให้ความสำคัญกับการยกระดับภาคการผลิต เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี กล่าวคือ นโยบาย Made in China 2025 กับนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม S-Curves ของไทย
สถิติการค้า มูลค่าการค้าอาเซียน-จีน (หน่วย: พันล้านเหรียญสหรัฐ) ปี 2560 จีนส่งออกไปอาเซียน 281.3 จีนนำเข้าจากอาเซียน 220.0 มูลค่าการค้ารวม 501.3 มูลค่าการค้าไทย-จีน (หน่วย: พันล้านเหรียญสหรัฐ ) ปี 2560 ไทยส่งออกไปจีน 29.5 ไทยนำเข้าจากจีน 44.2 มูลค่าการค้ารวม 73.7 ปี 2561 (ม.ค.-พ.ย.) ไทยส่งออกไปจีน 27.7 ไทยนำเข้าจากจีน 46.1 มูลค่าการค้ารวม 73.9 เป้าหมายการค้า ไทย-จีน 140,000 ล้าน เหรียญสหรัฐ ภายในปี 2564 อาเซียน-จีน 1 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐ ภายในปี 2563
สินค้าส่งออกของไทย 10 อันดับแรก อับดับ มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) % △ สัดส่วน ชื่อสินค้า 2559 2560 2560 (ม.ค.-พ.ย.) 2561 (ม.ค.-พ.ย.) 1 เม็ดพลาสติก 2,445.6 2,629.3 2,386.3 2,865.7 20.09 10.33 2 ผลิตภัณฑ์ยาง 624.1 2,884.2 2,610.3 2,586.2 -0.92 9.33 3 เคมีภัณฑ์ 1,414.2 1,857.6 1,678.7 2,487.4 48.17 8.97 4 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 1,627.2 2,124.7 1,886.3 1,985.3 5.25 7.16 5 ยางพารา 2,092.7 2,910.2 2,670.4 1,829.6 -31.49 6.60 6 ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง 1,789.9 1,745.5 1,539.9 1,656.4 7.56 5.97 7 ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ 1,368.5 1,656.5 1,537.4 1,285.0 -16.41 4.63 8 ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง 518.7 661.6 610.9 934.0 52.88 3.37 9 รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 755.9 1,166.0 1,039.8 926.8 -10.88 3.34 10 แผงวงจรไฟฟ้า 1,040.7 1,074.4 993.6 841.1 -15.35 3.03
สินค้านำเข้าของไทย 10 อันดับแรก อับดับ มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) % △ สัดส่วน ชื่อสินค้า 2559 2560 2560 (ม.ค.-พ.ย.) 2561 (ม.ค.-พ.ย.) 1 เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 6,329.0 6,231.8 5,734.5 6,875.4 19.90 14.90 2 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 4,355.3 4,235.3 3,884.2 4,577.6 17.85 9.92 3 เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 3,925.3 4,282.3 3,801.8 3,986.6 4.86 8.64 4 เคมีภัณฑ์ 2,882.9 3,588.7 3,275.6 3,914.7 19.51 8.48 5 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 2,489.0 2,942.5 2,685.3 3,075.8 14.54 6.67 6 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 2,753.3 2,333.7 2,142.4 2,531.5 18.16 5.49 7 ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ 2,673.6 2,967.6 2,762.2 2,490.6 -9.83 5.40 8 สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ 1,093.0 1,268.6 1,143.5 1,602.0 40.09 3.47 9 ผลิตภัณฑ์โลหะ 1,235.4 1,149.2 1,039.9 1,382.7 32.96 3.00 10 ผลิตภัณฑ์ทำจากพลาสติก 1,119.7 1,241.0 1,134.6 1,306.0 15.10 2.83
การประชุม JC เศรษฐกิจ ไทย - จีน เป็นกลไกหารือระดับสูงทางด้านเศรษฐกิจ โดยฝ่ายไทยมีรองนายกรัฐมนตรี และฝ่ายจีน มีมนตรีแห่งรัฐ เป็นประธานร่วม เพื่อหารือแนวทางการขยายการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน
การประชุม JC เศรษฐกิจ ไทย – จีน ครั้งที่ 6 เมื่อ 24 สิงหาคม 2561 ณ กรุงเทพมหานคร ความร่วมมือด้านการค้า ตั้งเป้าหมายการค้าเป็น 140,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ภายในปี 2564 ความร่วมมือด้านการลงทุน ชวนจีนมาร่วมลงทุน กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายใน EEC (ยานยนต์แห่ง อนาคต หุ่นยนต์ ดิจิทัล และอุตสาหกรรมชีวภาพ ) ด้านดิจิทัลระหว่างไทย-จีน ให้จัดตั้งคณะทำงาน ด้านเศรษฐกิจดิจิทัล
การประชุม JC เศรษฐกิจ ไทย – จีน ครั้งที่ 6 เมื่อ 24 สิงหาคม 2561 ณ กรุงเทพมหานคร ด้านการท่องเที่ยว 1) ด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ชวนจีนถ่ายทำภาพยนตร์ใน ไทย การนำละครไทยฉาย ในจีน 2) การลงทุนในภาคบริการน้ำพุ ร้อน 3) การร่วมลงทุนในธุรกิจ บริการขนส่งทางเรือ 4) ให้นักกีฬาของจีนเดินทางมา เก็บตัวฝึกซ้อมในไทย ด้านการเงิน ส่งเสริมให้มีการชำระเงินด้วยเงินหยวน – บาท การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการใช้ ประโยชน์จาก ACFTA และผลักดันให้การเจรจา ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ได้ข้อสรุปโดยเร็ว
ACFTA ACFTA หรือ ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน – จีน FTA ฉบับแรกของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา และไทยเป็นประเทศผู้ประสานฝ่ายอาเซียน (Country Coordinator) เริ่มเจรจาในปี 2545 ครอบคลุม สินค้า บริการ การลงทุน และความร่วมมือทางเศรษฐกิจต่างๆ
ACFTA การเปิดเสรีในด้านต่างๆ การลงนาม การมีผลบังคับใช้ การค้าสินค้า พ.ย. 2547 ก.ค. 2548 การค้าบริการ ข้อผูกพันการเปิดตลาดชุดที่ 1 พิธีสารอนุวัติข้อผูกพันชุดที่ 2 ม.ค. 2550 พ.ย. 2554 ก.ค. 2550 ม.ค. 2555 การลงทุน ส.ค. 2552 ก.พ. 2553
การลดภาษีภายใต้ ACFTA มีอัตราภาษีสุดท้ายอยู่ที่ร้อยละ 0-5 Timeline ลดอัตราภาษี เหลือไม่เกินร้อยละ20 เริ่มลดภาษีและลดภาษีเหลือศูนย์ เร่งลดภาษีเป็นศูนย์ พิกัด 07-08 ผักและผลไม้ 1 ต.ค. 46 1 ม.ค. 47 20 ก.ค. 48 1 ม.ค. 49 1 ม.ค. 53 1 ม.ค. 55 1 ม.ค. 58 1 ม.ค. 61 -จำกัดรายการสินค้าอ่อนไหวสูงไม่ให้เกิน 40 % หรือ 100 รายการของสินค้าอ่อนไหวทั้งหมด (HS 6 หลัก) แล้วแต่ว่าเงื่อนไขใดส่งผลให้มีรายการสินค้าอ่อนไหวสูงน้อยกว่า สามารถคงอัตราภาษีไว้ได้จนถึงปี 2558 จึงจะลดภาษีมาอยู่ที่ไม่เกิน 50 % ลดภาษีให้เหลือศูนย์ ตะกร้า 1 สินค้านำร่อง ตะกร้า 2 สินค้าปกติ ตะกร้า 3 สินค้าอ่อนไหว ตะกร้า 4 สินค้าอ่อนไหวสูง
การลดภาษีภายใต้ ACFTA สินค้านำร่อง เร่งลดภาษีเป็นศูนย์ ตั้งแต่ 1 ต.ค. 46 พิกัด 07-08 ผักและผลไม้ เริ่มลดภาษีตั้งแต่ 1 ม.ค.47 ให้เหลือศูนย์ ภายใน 1 ม.ค. 49 สินค้าปกติ ครอบคลุมสินค้ากว่า 7,000 รายการ = ร้อยละ 90 ของสินค้าระหว่างกัน เริ่มลดภาษีตั้งแต่ 20 ก.ค. 48 และลดภาษีลดเหลือศูนย์ ภายใน 1 ม.ค. 53 สินค้าอ่อนไหว ลดอัตราภาษีเหลือไม่เกินร้อยละ 20 ในวันที่ 1 ม.ค. 55 มีอัตราภาษีสุดท้ายอยู่ที่ร้อยละ 0-5 ในวันที่ 1 ม.ค. 61 สินค้าอ่อนไหวสูง จำกัดรายการสินค้าอ่อนไหวสูงไม่ให้เกินร้อยละ 40 หรือ 100 รายการของสินค้าอ่อนไหวทั้งหมด (HS 6 หลัก) แล้วแต่ว่าเงื่อนไขใดส่งผลให้มีรายการสินค้าอ่อนไหวสูงน้อยกว่า สามารถคงอัตราภาษีไว้ได้จนถึงปี 2558 จึงจะลดภาษีมาอยู่ที่ไม่เกิน ร้อยละ 50 1 2 4 3
การลดภาษีภายใต้ ACFTA
การลดภาษีภายใต้ ACFTA สินค้าที่ไทยได้รับประโยชน์ ไทยส่งออกไปจีน (+1,174.45 %) มันสำปะหลัง 137 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ปี 45) 1,746 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ปี 60) 1 สินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ สินค้าที่ไทยได้ประโยชน์ เช่น สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (จาก 391 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 436.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 11.7) เม็ดพลาสติก (จาก 1,629.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 2,415.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 48.2) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (จาก 2,570 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 2,886.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 12.3) และพลาสติก (จาก 1,827.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 2,627.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 43.8) เป็นต้น สินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ เช่น ผลิตภัณฑ์ยาง (จาก 169.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 247.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 46.5) เคมีภัณฑ์ (จาก 2,280.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 3,404.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 49.3) เม็ดพลาสติก (จาก 254.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 565.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัว ร้อยละ 122.4) และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (จาก 5,507.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 7,321.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 32.9) เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุนและวัตถุดิบ ไทยนำเข้าจากจีน (+1,622 %) ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้ 50 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ปี 45) 861 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ปี 60)
การลดภาษีภายใต้ ACFTA สินค้าที่ไทยได้รับประโยชน์ ไทยส่งออกไปจีน (ปี 53 ปี 60) เม็ดพลาสติก (+62.3 %) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (+152.8 %) พลาสติก (+28.9 %) ผลิตภัณฑ์ยาง (+104.3 %) 2 สินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ สินค้าที่ไทยได้ประโยชน์ เช่น สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม (จาก 391 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 436.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 11.7) เม็ดพลาสติก (จาก 1,629.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 2,415.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 48.2) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (จาก 2,570 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 2,886.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 12.3) และพลาสติก (จาก 1,827.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 2,627.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 43.8) เป็นต้น สินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ เช่น ผลิตภัณฑ์ยาง (จาก 169.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 247.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 46.5) เคมีภัณฑ์ (จาก 2,280.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 3,404.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 49.3) เม็ดพลาสติก (จาก 254.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 565.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัว ร้อยละ 122.4) และเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (จาก 5,507.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2553 เป็น 7,321.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2559 โดยมีอัตราการขยายตัวร้อยละ 32.9) เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุนและวัตถุดิบ ไทยนำเข้าจากจีน (ปี 53 ปี 60) เคมีภัณฑ์ (+113.4 %) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ (+98.1 %) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (+93.5 %)
การลดภาษีภายใต้ ACFTA คาดว่าไทยจะได้รับประโยชน์ ข้าวนึ่ง ปลายข้าว แป้งข้าวเจ้า สับปะรดแปรรูป เคมีภัณฑ์ แผ่นชิ้นไม้อัดกระดาษ ใยยาวสังเคราะห์ โพลิเอสเตอร์ กระปุกเกียร์สำหรับยานยนต์ และถุงลมนิรภัย 3 คาดว่าไทยจะได้รับผลกระทบ เหล็กแผ่นร้อน/รีดเย็น เครื่องสูบลม/ระบายอากาศ ส่วนประกอบของเครื่องรับโทรทัศน์ แผงควบคุมกระแสไฟ และเคเบิลไฟฟ้า
การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ ACFTA การส่งออก รายการ 2558 2559 2560 ปี 2561 (ม.ค.-ต.ค.) อัตราการขยายตัว ปี 60/61 ส่งออกรวม 23,732.47 23,799.61 29,433.05 24,919.62 n.a. มูลค่าการส่งออก ภายใต้ FTA 11,370.59 11,148.28 18,643.56 16,381.88 สัดส่วนการใช้สิทธิต่อมูลค่าส่งออกทั้งหมด 79.07% 73.77% 48.03 59.02 28.73 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ
การใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้ ACFTA การนำเข้า รายการ 2558 2559 2560 2561 (ม.ค.-ต.ค.) อัตราการขยายตัว ปี 60/61 นำเข้ารวม 41,065.47 38,417.67 44,237.38 41,457.81 n.a. มูลค่าสินค้านำเข้าภายใต้ FTA 9,794.36 9,683.10 20,815.32 22,772.92 สัดส่วนการใช้สิทธิต่อมูลค่านำเข้าทั้งหมด 23.85 % 25.20 % 23.99 26.43 27.40 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การค้ารวมเพิ่มขึ้น ปี 2549 131.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ X 3.8 เท่า ปี 2560 501 พันล้านเหรียญสหรัฐ FDI จากจีนเพิ่มขึ้น X 5.8 เท่า ปี 2549 1.96 พันล้านเหรียญสหรัฐ ปี 2560 11.4 พันล้านเหรียญสหรัฐ
มาตรการเยียวยา ปัจจุบัน ไทยเก็บภาษี AD ในสินค้าเหล็กลวดคาร์บอนต่ำ เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ยางในรถจักรยานยนต์จากจีน เป็นต้น ผู้ประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสินค้าและ ราคาทุ่มตลาดของจีน สามารถขอคำปรึกษา กรมการค้าต่างประเทศ เรื่องการใช้มาตรการตอบ โต้ (Antidumping: AD) โดยปัจจุบันไทยมีการเก็บภาษีเอดี (AD) ตอบโต้ การทุ่มตลาดสินค้า เหล็กลวดคาร์บอนต่ำ เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ยางในรถจักรยานยนต์จากจีน เป็นต้น (ข้อมูลจากสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า) การปรับลดภาษีนำเข้าจากประเทศจีน ทำให้สินค้านำเข้าจากจีนมีราคาลดลง และอาจจะถูกกว่าสินค้าไทย ส่งผลให้ผู้ประกอบการไทยนำเข้าจากจีนเพิ่มขึ้น
แนวทางการตลาดและรับมือกับสินค้าจากจีน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายในเมืองต่างๆ ของจีน การจัดกิจกรรม Roadshow การจัดงานแสดงสินค้า Top Thai Brand ณ เมืองคุนหมิง ASEAN-China Expo ณ เมืองหนานหนิง กรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ จัด สัมมนาประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้เกี่ยวกับ “FTA อาเซียน-จีน” กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ มีแผนการส่งออกสู่ตลาดจีน ทั้งเมืองหลักและเมืองรอง โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย ในเมืองต่างๆ ของจีน อาทิ ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เฉิงตู เสิ่นเจิ้น ซานโถว กวางโจว เป็นต้น การจัดกิจกรรม Roadshow และกิจกรรมส่งเสริมการขายร่วมกับห้างโมเดิร์นต่างๆ ในเมืองสำคัญของจีน เช่น เซียะเหมิน การจัดงานแสดงสินค้าท๊อปไทยแบรนด์ (Top Thai Brand) ที่นครคุณหมิง การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าอาเซียน – จีน เอ็กซ์โป ที่เมืองหนานหนิง และร่วมกับเว็บไซต์ดังๆ ของจีนจัดทำกิจกรรมออนไลน์ เพื่อสร้างความรู้จักสินค้าไทย สู่สายตาผู้บริโภคชาวจีน
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 563 ถ. นนทบุรี ต.บางกระสอ อ. เมือง จ. นนทบุรี Call Center 0-2507-7444 http://www.dtn.go.th