วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
Advertisements

สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
Starting fire with water การทำให้เกิดไฟด้วยน้ำ Or how I nearly burnt my car down หรือ ฉันทำให้รถเกือบจะลุกไหม้ได้อย่างไร.
อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
ระดับทะเลปานกลาง (MSL)
 The nonconformities chart controls the count of nonconformities ( ข้อบกพร่อง หรือตำหนิ ) within the product or service.  An item is classified as a.
Chapter 5 Law of the Sea Kanya Hirunwattanapong Faculty of Law, CMU November 2015 Kanya Hirunwattanapong, Faculty of Law, CMU, November 2015.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
Kanya Hirunwattanapong Faculty of Law, CMU November 2015
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การบริหารโครงการ Project Management
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Key Performance Indicators (KPI)
FTA.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การตรวจวัดคลื่น.
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การจัดองค์กรฝ่ายขาย MGEN313 Sales Management การบริหารงานขาย Department of Marketing Bangkok University- MGEN313.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ตอนที่ 5: จิตสำนึกแห่งความชอบธรรม
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Boundary AJ.2 : Satit UP.
การแจ้งขออายัดสลากเพื่อประวิงการจ่ายเงินรางวัล
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ประชุมคณะทำงานพิจารณาจัดทำแผนงานและงบประมาณ ด้านเตรียมความพร้อม งานศึกษา สำรวจ ออกแบบ ของกรมชลประทาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕ ครั้งที่ 7/2559 วันพฤหัสบดีที่
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
Control Charts for Count of Non-conformities
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ยิ้มก่อนเรียน.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
วิชากฏหมายทะเล (The Law of the Sea)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
Class Diagram.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea วิชาว่าด้วยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2525 The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982 โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

Maritime Boundary

Maritime Boundaries

Exclusive Economic Zone (EEZ) Internal Waters Territorial Sea (TS) Contiguous Zone (CZ) Exclusive Economic Zone (EEZ) HIGH SEAS (HS) น่านน้ำภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่อง เขตเศรษฐกิจจำเพาะ ทะเลหลวง/น่านน้ำสากล หลังเส้นฐาน ≤ 12 ≤ 24 ≤ 200 ไม่อยู่ใน TS, EEZ

Baselines - เส้นฐาน เส้นฐานปกติ (Normal Baselines) เส้นฐานตรง (Straight Baselines) เส้นฐานตรงหมู่เกาะ (Straight Archipelagic Baselines) ส่วนที่อยู่ภายในเส้นฐานคือ น่านน้ำภายใน (Internal Waters): ความหมายของ น่านน้ำภายใน เขตอำนาจของรัฐชายฝั่งเหนือน่านน้ำภายใน และสิทธิของรัฐอื่นใน น่านน้ำภายใน

Baselines - เส้นฐาน ในอดีต ได้มีการแบ่งประเภทของเส้นฐานไว้เพียง ๒ ประเภทเท่านั้น คือ ๑) เส้นฐานปกติ (Normal Baselines) และ ๒) เส้นฐานตรง (Straight Baselines) ภายหลังจากรัฐหมู่เกาะเป็นที่ยอมรับของประชาคมโลกในการเจรจา UNCLOS (ดังที่ ปรากฏอยู่ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982) จึงทำให้เกิดเส้น ฐานตรงอีกประเภทหนึ่งขึ้นมาเป็นเส้นฐานตรงของรัฐหมู่เกาะ

Normal Baselines - เส้นฐานปกติ Article5 Normal baseline ‘Except where otherwise provided in this Convention, the normal baseline for measuring the breadth of the territorial sea is the low-water line along the coast as marked on large-scale charts officially recognized by the coastal State.’ ข้อ 5 เส้นฐานปกติ เว้นแต่กรณีที่อนุสัญญานี้บัญญัติเป็นอย่างอื่น เส้นฐานปกติสำหรับวัดความกล้างของทะเล อาณาเขต ได้แก่ เส้นแนวน้ำลดตลอดฝั่งตามที่ได้หมายไว้ในแผนที่ซึ่งใช้มาตราส่วนใหญ่ที่ รัฐชายฝั่งยอมรับนับถือเป็นทางการ

Normal Baselines - เส้นฐานปกติ ชายหาดบางแสน ชายหาดบางแสน line water Low ทะเล

เส้นฐานปกติ คือ เส้นแนวน้ำลดต่ำสุดตลอดชายฝั่งทะเล (low-water line) ตามที่ รัฐชายฝั่งได้กำหนดไว้ในแผนที่ (Charts) ของตน (Article 5 อนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และ Article 3 อนุสัญญากรุงเจนี วาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958) แต่อย่างไรก็ตาม ทั้ง UNCLOS 1982 และ CTSCZ 1958 ก็ไม่ได้กำหนดวิธีในการ กำหนดจุดของแนวน้ำลดต่ำสุดเอาไว้ ดังนั้น รัฐชายฝั่งจึงสามารถที่จะกำหนดจุด ของแนวน้ำลดต่ำสุดได้ตามวิธีการที่รัฐชายฝั่งเห็นควรได้แต่ต้องจัดพิมพ์แนวน้ำ ลดดังกล่าวไว้ในแผนที่ขนาดใหญ่อันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในทางระหว่าง ประเทศด้วย

Straight baselines - เส้นฐานตรง

Fisheries Case (UK v. Norway)

แนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องเส้นฐานตรงได้มีการรับรองอยู่ในคำวินิจฉัยของศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศ (ICJ) ในคดี Anglo-Norwegian Fisheries โดยผลของคำวินิจฉัยเกี่ยวกับเรื่องการลากเส้นฐานตรงดังกล่าวเป็นที่ยอมรับในเวลาต่อมาโดย ปรากฏอยู่ใน UNCLOS 1982 และ CTSCZ 1958 ว่าในกรณีที่ชายฝั่งของรัฐมีลักษณะเว้าแหว่ง และตัดลึกเข้ามามากหรือมีแนวเกาะเรียงรายในบริเวณประชิดติดกันกับบริเวณชายฝั่งทะเล รัฐ ชายฝั่งอาจนำวิธีการลากเส้นฐานตรงเชื่อมต่อจุดที่เหมาะสม เช่น จุดนอกสุดของแนวเกาะ เหล่านั้นก็ได้ UNCLOS 1982 (A.7(1)) และ CTSCZ 1958 (A.4(1))

Straight baselines - เส้นฐานตรง ICJ ได้วินิจฉัยรับรองการลากเส้นฐาน ตรงของนอร์เวย์ที่มีความยาวที่สุดถึง 44 ไมล์ การลากเส้นฐานตรงจะต้องไม่หักเหไป จากทิศทางโดยทั่วไปของฝั่งทะเลจน เกินสมควรและบริเวณทะเลซึ่งอยู่ ภายในเส้นนั้นต้องมีความสัมพันธ์กับ แผ่นดินอย่างใกล้ชิดเพียงพอที่จะอยู่ใต้ บังคับของเขตน่านน้ำภายในของรัฐ ชายฝั่งได้ UNCLOS 1982 (A. 7 (3)) และ CTSCTZ (A. 4(4))

Straight baselines - เส้นฐานตรง Article7 Straight baselines 1. In localities where the coastline is deeply indented and cut into, or if there is a fringe of islands along the coast in its immediate vicinity, the method of straight baselines joining appropriate points may be employed in drawing the baseline from which the breadth of the territorial sea is measured. 2. Where because of the presence of a delta and other natural conditions the coastline is highly unstable, the appropriate points may be selected along the furthest seaward extent of the low- water line and, notwithstanding subsequent regression of the low-water line, the straight baselines shall remain effective until changed by the coastal State in accordance with this Convention. 3. The drawing of straight baselines must not depart to any appreciable extent from the general direction of the coast, and the sea areas lying within the lines must be sufficiently closely linked to the land domain to be subject to the regime of internal waters. 4. Straight baselines shall not be drawn to and from low-tide elevations, unless lighthouses or similar installations which are permanently above sea level have been built on them or except in instances where the drawing of baselines to and from such elevations has received general international recognition. 5. Where the method of straight baselines is applicable under paragraph 1, account may be taken, in determining particular baselines, of economic interests peculiar to the region concerned, the reality and the importance of which are clearly evidenced by long usage. 6. The system of straight baselines may not be applied by a State in such a manner as to cut off the territorial sea of another State from the high seas or an exclusive economic zone.

Straight baselines - เส้นฐานตรง นอกจากในกรณีตาม ที่กล่าวยังอาจเกิดการลากเส้นฐานตรงตาม UNCLOS 1982 (A.9) ได้ในกรณีที่เป็น ปากอ่าวที่เกิดจากแม่น้ำที่ไหลตรงไปสู่ทะเล Article 9 Mouths of rivers If a river flows directly into the sea, the baseline shall be a straight line across the mouth of the river between points on the low-water line of its banks. ข้อ 9 ปากแม่น้ำ หากแม่น้ำใดไหลลงสู่ทะเลโดยตรง ให้เส้นตรงซึ่งลากตัดปากแม่น้ำระหว่างจุดบนเส้นแนว น้ำลดของตลิ่งเป็นเส้นฐาน

Straight baselines - เส้นฐานตรง การลากเส้นฐานตรงอาจแตกต่างตามลักษณะประเภทของชายฝั่งดังนี้ คือ 1. กรณีที่ชายฝั่งมีลักษณะไม่คงที่อย่างมาก (A.7(2)) 2. กรณีที่ชายฝั่งเป็นปากแม่น้ำ (A.9) ลากเชื่อมแนวน้ำลดแต่ละฝั่ง 3. กรณีที่ชายฝั่งเป็นอ่าว ไม่เกิน 24 ไมล์ เว้นแต่อ่าวประวัติศาสตร์ (A.10)

Straight baselines – เส้นฐานตรงรัฐหมู่เกาะ

ARCHIPELAGIC STATES รัฐหมู่เกาะคืออะไร UNCLOS 1982 Article 46 Use of terms ‘For the purposes of this Convention: (a) "archipelagic State" means a State constituted wholly by one or more archipelagos and may include other islands;…’ รัฐหมู่เกาะ (Archipelagic states) คือ รัฐที่ประกอบด้วยหมู่เกาะ (Archipelagos) หนึ่งหมู่เกาะหรือมากกว่านั้นและอาจรวมถึงเกาะอื่นๆ ด้วย

ARCHIPELAGO “หมู่เกาะ” หมายถึง กลุ่มของเกาะ รวมทั้งส่วนต่างๆของเกาะ น่านน้ำที่เชื่อมติดต่อ ระหว่างกัน และลักษณะทางธรรมชาติอื่นซึ่งเกี่ยวพันกันอย่างใกล้ชิดจนกระทั่ง เกาะ น่านน้ำ และลักษณะทางะรรมชาติอื่นเช่นว่านั้นประกอบกันขึ้นเป็นองคภาวะ ทางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจและการเมืองอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือซึ่งตาม ประวัติศาสตร์ถือกันว่าเป็นเช่นนั้น ประเทศหมู่เกาะ เช่น อินโดนีเชีย ปาปัวนิวกีนี ฟิลิปปินส์ เป็นต้น

เส้นฐานตรงรัฐหมู่เกาะ ประเทศหมู่เกาะ อาจลากเส้นฐานตรงเชื่อมต่อจุดนอกสุดของเกาะที่ตั้งอยู่นอกสุดกับโขด หินที่โผล่พ้นน้ำของหมู่เกาะก็ได้ แต่ความยาวของเส้นฐานตรงดังกล่าวต้องไม่เกิน 100 ไมล์ ทะเล เว้นแต่อาจยาวกว่านั้นได้หากไม่เกินร้อยละ 3 ของจำนวนเส้นฐานทั้งหมดของเส้น ฐานที่ปิดล้อมหมู่เกาะ แต่ความยาวสูงสุดของเส้นฐานดังกล่าวต้องไม่เกิน 125 ไมล์ทะเล เช่น หากมีเส้นฐาน 100 เส้น อาจมี 3 เส้นที่มีความยาวเกินกว่า 100 ไมล์ทะเลได้แต่อย่างไร ก็ตามก็ต้องไม่เกิน 125 ไมล์ทะเล UNCLOS 1982 (A.47(2))

Straight baselines – เส้นฐานตรงรัฐหมู่เกาะ Article 47 Archipelagic baselines 1. An archipelagic State may draw straight archipelagic baselines joining the outermost points of the outermost islands and drying reefs of the archipelago provided that within such baselines are included the main islands and an area in which the ratio of the area of the water to the area of the land, including atolls, is between 1 to 1 and 9 to 1. 2. The length of such baselines shall not exceed 100 nautical miles, except that up to 3 per cent of the total number of baselines enclosing any archipelago may exceed that length, up to a maximum length of 125 nautical miles. 3. The drawing of such baselines shall not depart to any appreciable extent from the general configuration of the archipelago. 4. Such baselines shall not be drawn to and from low-tide elevations, unless lighthouses or similar installations which are permanently above sea level have been built on them or where a low-tide elevation is situated wholly or partly at a distance not exceeding the breadth of the territorial sea from the nearest island. 5. The system of such baselines shall not be applied by an archipelagic State in such a manner as to cut off from the high seas or the exclusive economic zone the territorial sea of another State. 6. If a part of the archipelagic waters of an archipelagic State lies between two parts of an immediately adjacent neighbouring State, existing rights and all other legitimate interests which the latter State has traditionally exercised in such waters and all rights stipulated by agreement between those States shall continue and be respected. 7. For the purpose of computing the ratio of water to land under paragraph l, land areas may include waters lying within the fringing reefs of islands and atolls, including that part of a steep-sided oceanic plateau which is enclosed or nearly enclosed by a chain of limestone islands and drying reefs lying on the perimeter of the plateau. 8. The baselines drawn in accordance with this article shall be shown on charts of a scale or scales adequate for ascertaining their position. Alternatively, lists of geographical coordinates of points, specifying the geodetic datum, may be substituted. 9. The archipelagic State shall give due publicity to such charts or lists of geographical coordinates and shall deposit a copy of each such chart or list with the Secretary-General of the United Nations.

สิทธิในการผ่านน่านน้ำของรัฐในน่านน้ำรัฐหมู่เกาะ เรือและอากาศยานจะต้องไม่เข้าไปใกล้ ชายฝั่งของรัฐหมู่เกาะเกินกว่าร้อยละ 10 ของระยะทางระหว่างจุดที่ใกล้ที่มุดบน เที่อยู่ติดกับช่องทางทะเล Distance between Islands A and B is 40 NM.; Ships and Aircaft Must approach no closer than 4 NM. to either Island (10 Percent Of Distance between Islands) UNCLOS (A.53 (5)) 25 NM 40 NM 25 NM

ข้อจำกัดเกี่ยวกับการลากเส้นฐานตรง 1) ไม่หักเหจากแนวชายฝั่งทั่วไปจนสมควรและบริเวณทะเลที่อยู่ภายในเส้นฐานจะต้อง มีความสัมพันธ์กับแผ่นดินอย่างใกล้ชิดเพียงพอที่จะให้อยู่ในเขตน่านน้ำภายในได้ 2) ห้ามรัฐชายฝั่งลากเส้นฐานเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ที่อยู่เหนือระดับน้ำขณะน้ำลดต่ำสุด เว้นแต่จะมีการติดตั้งประภาคารหรือสิ่งถาวรทำนองเดียวกัน (A.7(4)) 3) การลากเส้นฐานตรงของรัฐชายฝั่งต้องไม่เป็นการตัดสิทธิหรือปิดกั้นทะเลอาณาเขต ของรัฐอื่นจากทะเลหลวงหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ (A.7(6))

ข้อจำกัดเกี่ยวกับการลากเส้นฐานตรงหมู่เกาะ 1) ไม่หักเหไปจากสันฐานทั่วไปของรัฐหมู่เกาะ (A.47(3)) 2) รัฐหมู่เกาะต้องไม่ลากเส้นฐานเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ที่อยู่เหนือระดับน้ำขณะน้ำลดต่ำสุด เว้นแต่จะมีการติดตั้งประภาคารหรือสิ่งถาวรทำนองเดียวกันไว้ในระยะไม่เกินความกว้าง ของทะเลอาณาเขตซึ่งวัดจากเกาะที่อยู่ใกล้ที่สุด (A.47(4)) 3) การลากเส้นฐานตรงหมู่เกาะต้องไม่เป็นการตัดสิทธิหรือปิดกั้นทะเลอาณาเขตของรัฐอื่น จากทะเลหลวงหรือเขตเศรษฐกิจจำเพาะ (A.47(5)) 4) หากส่วนหนึ่งของน่านน้ำหมู่เกาะอยู่ระหว่างสองส่วนของรัฐเพื่อนบ้านที่ประชิดติดกัน รัฐหมู่เกาะนั้นต้องยอมรับถึงสิทธิหรือผลประโยชน์ของรัฐข้างเคียงอันเคยมีอยู่ในน่านน้ำหมู่ เกาะด้วยและข้อตกลงระหว่างรัฐหมู่เกาะและรัฐข้างเคียงก็ให้มีผลใช้บังคับต่อไป (A.47(6))

Bay Article 10 ‘…a bay is a well-marked indentation whose penetration is in such proportion to the width of its mouth as to contain land- locked waters and constitute more than a mere curvature of the coast. An indentation shall not, however, be regarded as a bay unless its area is as large as, or larger than, that of the semi-circle whose diameter is a line drawn across the mouth of that indentation….’

“อ่าวคือส่วนเว้าที่เห็นเด่นชัดซึ่งส่วนที่ตัดเว้าเข้ามาได้สัดส่วนกับความกว้างของปากอ่าวจนถึงขนาดทำให้เกิดมีน่านน้ำที่ล้อมรอบด้วยแผ่นดินเกือบทั้งหมด และมิได้เป้นแต่เพียงความโค้งของฝั่งทะเล อย่างไรก็ดี มิให้ถือว่าส่วนเว้าเป็นอ่าว เว้นแต่พื้นที่ของส่วนเว้านั้นจะกว้างเท่ากับหรือกว้างกว่าพื้นที่รูปครึ่งวงกลมซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นเส้นที่ลากตัดปากของส่วนเว้านั้น...” *ใช้เฉพาะกรณีอ่าวซึ่งมีฝั่งทะเลเป็นของรัฐเดียว*

ตัวอย่างของอ่าวประวัติศาสตร์ที่มีการกล่าวอ้าง ก. อ่าวที่มีการกล่าวอ้างว่าเป็นอ่าวประวัติศาสตร์โดยตรง เช่น Shark Bay (Australia), Peter the Great Bay (Soviet Union), Gulf of Taranto (Italy) เป็น ต้น ข. อ่าวที่อาจกล่าวอ้างว่าเป็นอ่าวประวัติศาสตร์ เช่น Bight of Bangkok (Thailand), Bay of el Arab (Egypt) เป็นต้น ค. อ่าวที่มีการกล่าวอ้างว่าเป็นอ่าวประวัติศาสตร์ในบางครั้ง เช่น Gulf of California (Mexico), Gulf of St. Lawrence (Canada) เป็นต้น