การสำรวจตามกลุ่มอายุ สำนักทันตสาธารสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การวัด Measurement.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
Population and sampling
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การสุ่มตัวอย่าง สส ระเบียบวิจัยการสื่อสาร สื่อสารประยุกต์ ภาคพิเศษ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Multistage Cluster Sampling
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจตามกลุ่มอายุ สำนักทันตสาธารสุข

วัตถุประสงค์ของการสำรวจสุขภาพช่องปาก เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพรรณนาสภาวะสุขภาพช่องปาก ได้แก่อัตราความชุกของโรค ความรุนแรงของโรค แนวโน้มของโรค ความต้องการบริการทันตกรรม เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการบริการ เพื่อใช้ในการควบคุม กำกับ และประเมินผล เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาความสัมพันธ์ของปัญหาต่อการให้ทันตสุขศึกษา การป้องกัน และการรักษา

การสำรวจแบ่งตามลักษณะของการเก็บรวบรวมข้อมูล การสำรวจเบื้องต้น เป็นวิธีการสำรวจหรือเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างที่ไม่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรได้ การสำรวจนำร่อง วิธีการอาจเป็นในลักษณะการสอบถาม การสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากโดยวิธี Screening ในคนกลุ่มเล็กๆ การสำรวจเพื่อหาข้อมูลเฉพาะ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนขั้นต้น เฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งเท่านั้น การสำรวจระดับชาติ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนของประเทศ

ข้อกำหนดในการสำรวจสุขภาพช่องปาก ในการสำรวจสุขภาพช่องปาก ข้อมูลที่ได้จะต้องมี Reliability and Validity สูงจึงจะถือว่าเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ Reliability หมายถึง ความคงที่และสม่ำเสมอของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ Validity หมายถึง ความเที่ยงตรงของข้อมูล โดยพิจารณาจากสิ่งที่วัดได้

Reliability หมายถึง ความคงที่และสม่ำเสมอของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ การแก้ไขความแปรปรวน - ให้คำนิยามโรคและกำหนดระยะต่างๆของการดำเนินการโรค หรือสิ่งที่ต้องการวัดให้ชัดเจน - ระบุลักษณะของเครื่องมือหรือเครื่องชี้วัดที่ใช้ ซึ่งจะต้องใช้เครื่องมือชุดเดียวกัน - ทำการปรับมาตรฐานผู้สำรวจและผู้บันทึก

Validity หมายถึง ความเที่ยงตรงของข้อมูล โดยพิจารณาจากสิ่งที่วัดได้ - ได้จากการพิจารณาสิ่งซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจน - ได้จากการพิจารณาหลักเกณฑ์ที่ใช้สำรวจ

การปรับมาตรฐานในผู้ตรวจคนเดียว (Intra-examiner calibration) เมื่อการสำรวจกระทำโดยผู้ตรวจคนเดียว ความคงที่ของการตรวจสามารถตรวจสอบโดยการตรวจตัวอย่างประมาณ 10-20 คน ทำซ้ำ 2 ครั้ง ตัวอย่างทั้ง 10-20 คนนี้ควรคัดเลือกจากคนที่มีสภาวะในช่องปากครอบคลุมดัชนีที่เราจะใช้ในการตรวจให้มากที่สุด เมื่อตรวจครบ 2 ครั้ง แล้วจึงนำผลการตรวจมาเปรียบเทียบกัน หากผลการตรวจตรงกันต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ผู้ตรวจจะต้องศึกษาหลักเกณฑ์การวินิจฉัยใหม่และทำซ้ำจนกว่าผลการตรวจตรงกันไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด โดยทั่วไปผลการตรวจซ้ำควรตรงกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

การปรับมาตรฐานในระหว่างผู้ตรวจ (Inter-examiner calibration) ให้ผู้ตรวจทุกคนตรวจตัวอย่างชุดเดียวกันประมาณ 20 คนและเปรียบเทียบผลการตรวจหากได้ผลตรงกันไม่ถึงร้อยละ 80 จะต้องตรวจตัวอย่างเดิมเพื่ออภิปรายหาข้อสรุปกันในกลุ่มผู้ตรวจ หากมีผู้ตรวจคนใดให้ผลการตรวจแตกต่างจากกลุ่มมาก ควรให้ฝึกปฏิบัติซ้ำใหม่จนกว่าจะได้ผลตรงกันตามที่เกณฑ์กำหนด

อายุ 18 เดือน อายุ 3 ปี อายุ 12 ปี และอายุ 60-74 ปี กลุ่มเป้าหมาย

ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากระเบียบวิธีตัวอย่าง Sample Error แผนแบบการเลือกตัวอย่างไม่เหมาะสม ขนาดของตัวอย่างไม่เพียงพอ วิธีการเลือกตัวอย่างไม่ถูกต้องตามหลักของความน่าจะเป็น ใช้กรอบของการสุ่มตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์ ใช้สูตรประมาณผลที่ผิด เช่น ไม่มีการถ่วงน้ำหนัก หรือประมาณผลไม่ตรงกับแผนแบบการสุ่มตัวอย่างที่กำหนดไว้

ความคลาดเคลื่อนที่ไม่ได้เกิดจากระเบียบวิธีตัวอย่าง Non-Sample Error การเตรียมการต่างๆไม่ดี ผู้ถูกสำรวจไม่ให้ความร่วมมือ ข้อมูลที่ได้จากงานสนามไม่ถูกต้อง ความคลาดเคลื่อนจากการประมวลผล ความคลาดเคลื่อนในการนำเสนอผล

การสุ่มตัวอย่าง เพื่อให้ได้ตัวอย่างที่ดี ขณะเดียวกัน ต้องคำนึงถึงจำนวนตัวอย่างที่พอเหมาะ ไม่มากเกินไปหรือน้อยเกินไปที่จะใช้ประมาณค่าได้ถูกต้องในระดับที่น่าพอใจ เราจึงต้องคำนวณขนาดประชากรตัวอย่างควบคู่ไปกับการสุ่มตัวอย่างด้วย

แบบแผนการสุ่มตัวอย่าง แบบ Non-Probability sampling แบบ Probability sampling

แบบ Probability sampling การสุ่มตัวอย่างธรรมดา (Simple random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ (Stratification random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster random sampling) การสุ่มตัวอย่างหลายขั้น (Multi-stage sampling)

การสุ่มตัวอย่างธรรมดา (Simple random sampling) วิธีจับฉลากแบบไม่เจาะจง หรือโดยการใช้ตารางเลขสุ่ม การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic random sampling) โดยการนำประชากรมาจัดเรียงเป็นแบบแผนและสุ่มตัวอย่างแรก จากนั้นนับไปว่าทุกๆ k หน่วยจะถูกเลือกเป็นตัวอย่าง โดยค่า k ได้จากจำนวนประชากรหารด้วยจำนวนตัวอย่าง

การสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิ (Stratification random sampling) ประชากรในชั้นภูมิเดียวกันมีลักษณะคล้ายกันมากที่สุด แต่จะต่างกันหากอยู่คนละชั้นภูมิ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster random sampling) เป็นการแบ่งประชากรเป็นกลุ่มๆก่อน แล้วจึงสุ่มเลือกบางกลุ่มมาเป็นตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างหลายขั้น (Multi-stage sampling) หลักการเดียวกับวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม แต่มีการสุ่มหลายขั้น

การสุ่มตัวอย่างในการสำรวจสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด วิธี Stratified two-stage sampling คือมีการแบ่งชั้นภูมิ (Stratification) ก่อน 1 ครั้ง แยกเป็นเขตเมืองและเขตชนบท แล้วจึงสุ่มแบบระบบหมู่บ้านหรือโรงเรียนในแต่ละเขตสุ่มเลือกอีกขั้นหนึ่ง

อำเภอ นอกเทศบาล(เขตชนบท) เทศบาล(เขตเมือง) โรงเรียน โรงเรียน

การกำหนดขนาดตัวอย่าง คำนวณโดยใช้สูตร n = Z2/2 P(1-P) /d2 *design effect n = ขนาดประชากรตัวอย่าง Z/2= 1.96 เมื่อ  = 0.05 P = ความชุกของการเกิดโรคของจังหวัดนั้น d = ความคลาดเคลื่อนสูงสุดที่ยอมรับได้ design effect = 2

nf = n / 1+(n/N) nf ขนาดประชากรตัวอย่างที่จะสำรวจ n ขนาดตัวอย่างที่คิดได้ในขั้นตอนที่ 1 N จำนวนประชากรเป้าหมาย

คำนวณ n = Z2/2 P(1-P) /d2 *design effect n = ขนาดประชากรตัวอย่าง Z/2= 1.96 เมื่อ  = 0.05 P = ความชุกของการเกิดโรคฟันผุ 0.94 d = ความคลาดเคลื่อนสูงสุดที่ยอมรับได้ กำหนดเป็นร้อยละ 7 ของค่า P จะได้ 0.07*0.94 design effect = 2

การวิเคราะห์ข้อมูล การคำนวณค่าถ่วงน้ำหนัก การคำนวณค่าถ่วงน้ำหนักประมาณยอดรวมของจำนวนประชากรที่ศึกษา ต้องใช้ค่าถ่วงน้ำหนักซึ่งสามารถได้จากผลคูณของค่าต่างๆเหล่านี้ การคำนวณค่าถ่วงน้ำหนักเริ่มต้น (Base weight) คำนวณจากแผนการสุ่มตัวอย่างที่ใช้โดยค่าถ่วงน้ำหนักเริ่มต้นจะมีค่าเท่ากับผลคูณส่วนกลับของความน่าจะเป็นที่หน่วยตัวอย่างจะถูกเลือกมาเป็นตัวแทนในแต่ละขั้น ในการสำรวจแผนการสุ่มตัวอย่างที่ใช้แบบ Stratified two-stage sampling ดังนั้นความน่าจะเป็นที่หน่วยตัวอย่างในแต่ละขั้นจะถูกเลือกเป็นตัวแทนสามารถคำนวณได้ดังนี้ หน่วยตัวอย่างขั้นที่ 1 (อำเภอตัวอย่าง) ถูกเลือกด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Systematic Sampling ด้วยความน่าจะเป็น ah / Ahโดยที่