วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Continuous Quality Improvement
Advertisements

A point is an equilibrium point (critical point) for a
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
WorkShop I (10 points) ค้นหาข้อมูลบน Internet ทำเป็นชิ้นงานส่งมา ทาง – เลขที่ 1-5 ความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ – เลขที่ 6-10 กระบวนการผลิตสารสนเทศ.
Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP บทบาทของวิศวกรเคมี
บทบาทของวิศวกรเคมี Lecture1_intro_ Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP 1.
แผนบูรณาการเชิง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพ คนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 24 ก. พ
Collecting / Grouping / Sorting Data
Microsoft® Office SharePoint® Server 2007 การฝึกอบรม
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายป้องกันและปราบรามการทุจริต
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
การถ่ายเทพลังงาน โดย ดร.อรวรรณ ริ้วทอง :
ตลาดทุนไทยหลัง CG-ROSC: ทิศทางในอนาคต
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
II-9 การทำงานกับชุมชน.
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การลำเลียงวัสดุและระบบบรรจุภัณฑ์
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
การแบ่งส่วนการตลาด (Market Segmentation)
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บทที่4 การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
ตารางธาตุ.
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
ประชากร.
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
ตาม ม.40 แห่งประมวลรัษฎากร
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
หลักการนับพื้นฐาน การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่ สัมประสิทธิ์ทวินาม
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
Introduction to Public Administration Research Method
3. ระบบศาลในกฎหมายปกครอง
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์ (ปรับปรุงมิถุนายน 2555) พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์

ภาค 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง ข้อศึกษา 1. ข้อความรู้พื้นฐานทั่วไป 2. ขอบเขตของวิชากฎหมายปกครอง 3. หลักนิติรัฐเบื้องต้น

กฎหมายที่ใช้บังคับ ประกอบด้วย 2 ส่วน 1. กฎหมายที่ไม่ได้บัญญัติเป็น ลายลักษณ์อักษร 2. กฎหมายที่บัญญัติเป็น ลายลักษณ์อักษร

ท่านรู้จักกฎหมายเหล่านี้หรือไม่ ? ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ. 2542 พระราชกฤษฎีกากำหนดหน่วยงานของรัฐ ฯลฯ กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติฯ

ส่วนประกอบของกฎหมาย ที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. รูปแบบของกฎหมาย เช่น พรบ. พรฎ. ฯ 2. เนื้อหาของกฎหมายฉบับนั้นๆ

กฎหมายเอกชน เป็นกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์. ระหว่างเอกชน + เอกชน กฎหมายเอกชน เป็นกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ ระหว่างเอกชน + เอกชน อย่างเท่าเทียมกัน กฎหมายมหาชน เป็นกฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐ + เอกชน โดยรัฐมีฐานะเหนือกว่าเอกชน (ผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้การปกครอง)

ลำดับชั้นของกฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติฯ กฎหมายแม่บท พระราชกำหนด กฎหมายลูกบท กฎหมายลำดับรอง อนุบัญญัติ “กฎ” พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ระเบียบ ฯลฯ

เนื้อหาของ กฎหมายปกครอง I. การจัดองค์การของฝ่ายปกครอง II. วิธีการในการจัดทำบริการสาธารณะของฝ่ายปกครอง III การควบคุมการใช้อำนาจรัฐของฝ่ายปกครอง

อำนาจอธิปไตย องค์กรผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ องค์กรผู้ใช้อำนาจ ตุลาการ (ศาล) การกระทำ ทางตุลาการ องค์กรผู้ใช้อำนาจบริหาร (คณะรัฐมนตรี) งานนโยบาย การกระทำของรัฐบาล วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร ฝ่ายปกครอง การกระทำของ ฝ่ายปกครอง การกระทำ ทางนิติบัญญัติ

1. หน่วยงานของรัฐฝ่ายบริหาร ฝ่ายปกครองมีอะไรบ้าง (1) 1. หน่วยงานของรัฐฝ่ายบริหาร 1.1 หน่วยงานในราชการส่วนกลาง เช่น กระทรวง 1.2 หน่วยงานในราชการส่วนภูมิภาค เช่น จังหวัด อำเภอ 1.3 หน่วยงานในราชการส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ.ฯ 1.4 รัฐวิสาหกิจที่ตั้งตามพระราชบัญญัติ เช่น กฟผ. ธกส. หรือพระราชกฤษฎีกา เช่น ขสมก. อจส. 1.5 หน่วยงานอื่นๆ นอกจากข้อ 1.1-1.4 เช่น องค์การมหาชน

ฝ่ายปกครองมีอะไรบ้าง (2) 2. เจ้าหน้าที่ของรัฐฝ่ายบริหาร (ฝ่ายปกครอง) - นายกรัฐมนตรี - คณะรัฐมนตรี - รัฐมนตรีคนหนึ่งคนใดหรือหลายคน - บรรดาเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในข้อ 1 เช่น ปลัดกระทรวง นายกท้องถิ่นฯ ฝ่ายปกครอง ประเภทนี้แบ่งเป็น องค์กรเดี่ยว และองค์กรกลุ่ม

ฝ่ายปกครองมีอะไรบ้าง (3) 3. องค์กรอิสระของรัฐ(องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญและองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ) : องค์กรที่รัฐธรรมนูญหรือ พรบ.ประกอบฯ หรือ พรบ. จัดตั้งขึ้นให้มีฐานะเป็น องค์กรอิสระของรัฐ เช่น ก.ก.ต. ป.ป.ช. คกก.สิทธิมนุษยชนฯ เป็นต้น

ฝ่ายปกครองมีอะไรบ้าง (4) 4. หน่วยงานของรัฐที่เป็นอิสระ : หน่วยงานที่รัฐธรรมนูญหรือ พรบ. ประกอบฯ หรือ พรบ.จัดตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่ด้านธุรการ ด้านวิชาการ ให้องค์กรอิสระของรัฐ ศาล หรืออื่นๆ เช่น สนง.ศาลปกครอง สนง. ก.ก.ต. สนง.เลขาธิการสภาผู้แทนฯ เป็นต้น

ฝ่ายปกครองมีอะไรบ้าง (5) 5. บรรดาเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน ในหน่วยงานของรัฐที่เป็นอิสระ ไม่ว่าจะมีฐานะเป็นข้าราชการ พนักงานของรัฐ หรืออื่นๆ เช่น เลขาธิการ สนง.ศาลปกครอง ผู้ว่า สตง. เป็นต้น

II. วิธีการในการดำเนินการหรือจัดทำบริการสาธารณะ การกระทำของฝ่ายปกครอง การกระทำที่อาศัยอำนาจตามกฎหมาย เอกชน การกระทำที่อาศัยอำนาจกฎหมายมหาชน (ดูแผ่นต่อไป)

การกระทำที่อาศัยอำนาจตามกฎหมายมหาชน การกระทำที่มุ่งให้เกิดผลทางกฎหมาย (ดูแผ่นต่อไป) การกระทำที่มุ่งข้อเท็จจริง (การกระทำ ทางกายภาพ/ปฏิบัติการทางปกครอง)

(กฎและคำสั่งทางปกครอง) คำสั่ง ระเบียบภายในฝ่ายปกครอง การกระทำที่มุ่งให้เกิดผล ในทางกฎหมาย มุ่งให้เกิดผลภายในฝ่ายปกครอง มุ่งให้เกิดผลไปสู่ ภายนอกฝ่ายปกครอง สัญญาทางปกครอง นิติกรรมทางปกครอง (กฎและคำสั่งทางปกครอง) คำสั่ง ระเบียบภายในฝ่ายปกครอง คำสั่งภายในฝ่ายปกครอง

มาตรา 5 แห่ง พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองฯ “กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ “คำสั่งทางปกครอง” หมายความว่า (1) การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ (2) การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง

องค์ประกอบของกฎและคำสั่งทางปกครอง เป็นผลจากการใช้อำนาจตาม พรบ. ของฝ่ายปกครอง  2. เป็นการใช้อำนาจฝ่ายเดียว (ไม่ต้องได้รับความยินยอม) 3. การใช้อำนาจดังกล่าวก่อให้เกิด นิติสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายปกครอง กับเอกชน 4. มีผลไปสู่ภายนอกฝ่ายปกครอง 5. มีผลบังคับเป็นการทั่วไป *มีผลต่อกรณีเฉพาะหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ

(มีผลบังคับเป็นการทั่วไป) ลักษณะสำคัญของกฎ (มีผลบังคับเป็นการทั่วไป) มีลักษณะสำคัญ 2 ประการ 1. บุคคลที่ถูกบังคับตามกฎ มีการกำหนดหรือถูกนิยามไว้เป็นประเภท 2. สิ่งที่บุคคลที่ถูกนิยามไว้ ต้องปฏิบัติตามกฎนั้น ได้มีการกำหนดไว้เป็นนามธรรม : เมื่อมีข้อเท็จจริงเกิดขึ้นตามที่กำหนดไว้บุคคลประเภทนั้น ต้องปฏิบัติตามกฎซ้ำแล้วซ้ำอีก

หลักนิติรัฐเบื้องต้น ประกอบด้วยหลักการพื้นฐาน 2 หลักการ 1. หลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทำทางปกครอง 2. หลักความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ของกฎหมาย

หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง ความหมาย ? 2. สาระสำคัญ ? (Principle of legality of Administration Action) ความหมาย ? 2. สาระสำคัญ ?

ความหมายของหลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทำทางปกครอง : ไม่มีกฎหมายไม่มีอำนาจ ต้องมีกฎหมายให้อำนาจและต้องกระทำการ ในขอบเขตที่กฎหมายกำหนดไว้เท่านั้น

2. สาระสำคัญของ Principle of Legality Of Administration Action : กฎหมายเป็นทั้งแหล่งที่มา (Source) และข้อจำกัด (Limitation) ของอำนาจกระทำการต่างๆ ของฝ่ายปกครอง

Source : กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ และกฎหมายลำดับรอง Limitation : *กฎหมายระดับพระราชบัญญัติที่ให้อำนาจ *กฎหมายระดับพระราชบัญญัติอื่นที่ใช้บังคับ ในขณะที่ฝ่ายปกครองกระทำการ *รัฐธรรมนูญ *กฎหมายประเพณี *หลักกฎหมายทั่วไป

ภาค 2 พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ : มีความรู้ความเข้าใจ 1. เกี่ยวกับความมุ่งหมายของ พรบ.ฉบับนี้ 2. สามารถมองภาพรวมของ พรบ.นี้ ได้ตามสมควร 3. พื้นฐานหลักการสำคัญของ พรบ.ฉบับนี้ 4. ข้อควรระลึกในการใช้ พรบ.นี้ 5. พอที่จะวินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้ พรบ.นี้ ในเบื้องต้น

เหตุผล : พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 กำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนต่างๆ สำหรับการดำเนินการทางปกครอง ให้การดำเนินงานเป็นไปโดยถูกต้อง มีประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย สามารถรักษาประโยชน์สาธารณะได้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และยังอำนวยความเป็นธรรม แก่เอกชนได้มากขึ้น

เงื่อนไขความสมบูรณ์ของคำสั่งทางปกครอง เงื่อนไขในแง่ขอบอำนาจในการ ออกคำสั่งทางปกครอง เงื่อนไขในแง่กระบวนการในการ ออกคำสั่งทางปกครอง

เงื่อนไขในแง่ขอบอำนาจในการออกคำสั่ง 1. ข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุให้ฝ่ายปกครอง มีอำนาจในการออกคำสั่ง 2. วัตถุประสงค์ของคำสั่ง : เนื้อความของ คำสั่ง ที่แท้จริง 3. ความมุ่งหมายของการออกคำสั่ง : ผลที่ฝ่ายปกครองหวังจะให้เกิดขึ้นจาก การออกคำสั่ง

เงื่อนไขในแง่กระบวนการในการออกคำสั่ง 1. เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่ง 2. ขั้นตอนของการออกคำสั่ง 3. แบบของคำสั่ง

เงื่อนไขเกี่ยวกับกระบวนการในการออกคำสั่ง กำหนดใน พรบ.วิ.ปกครองฯ (กฎหมายเสริม) กำหนดในกฎหมาย ที่ให้อำนาจออกคำสั่งฯ

ความเป็นกฎหมายเสริม วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่างๆ ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. นี้ เว้นแต่ - มีฎหมายกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ไว้โดยเฉพาะ และ - มีหลักเกณฑ์ที่ประกันความเป็นธรรม หรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ต่ำกว่า หลักเกณฑ์ตาม พ.ร.บ. นี้ ข้อยกเว้น ขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ์ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายนั้น

ขอบเขตของ พรบ. ฉบับนี้ ข้อสังเกต “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” : การเตรียมการและการดำเนินการเพื่อให้มีกฎ และคำสั่งทางปกครอง “การพิจารณาทางปกครอง” : การเตรียมการและการดำเนินการให้มีคำสั่ง ทางปกครอง

ข้อจำกัดไม่นำ พรบ. นี้ไปใช้ ข้อจำกัดตาม พรบ. นี้ (ม.4) เช่น (1) รัฐสภา และคณะรัฐมนตรี 2) องค์กรที่ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญฯ โดยเฉพาะ (3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ในงานทางนโยบายโดยเฉพาะ ฯลฯ 2. ข้อจำกัดตาม พรบ. เฉพาะ เช่น ม.5/2 แห่ง พรบ. การเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 ที่ไม่ให้นำหลักความเชื่อโดยสุจริตมาใช้กรณีที่ถูกเพิกถอนใบรับรองใบอนุญาตฯ ตาม พรบ. การเดินอากาศฯ

(1) ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตามวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (๑) ข้อต้องคำนึงในชั้นนี้มี 2 หัวข้อที่ต้องทำความเข้าใจ 1. คู่กรณี 2. เจ้าหน้าที่

คู่กรณี (มาตรา 5, มาตรา 21 – มาตรา 25) - คือใคร (มาตรา 5) - ความสามารถ (มาตรา 22) - สิทธิของคู่กรณี (มาตรา 23 - มาตรา 25)

คู่กรณี : บุคคลที่อยู่ตรงข้ามกับเจ้าหน้าที่ คือ ผู้ยื่นคำขอ ผู้คัดค้านคำขอ ผู้อยู่ในบังคับ หรือจะอยู่ ในบังคับของคำสั่งทางปกครองและผู้ซึ่งได้เข้ามา ในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เนื่องจาก สิทธิถูกกระทบจากผลของคำสั่งทางปกครอง (มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ. 2539 (วิ. ปกครอง)

ความสามารถของคู่กรณี (มาตรา ๒๒ วิ. ปกครอง) (1) ผู้บรรลุนิติภาวะ (ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์) (2) มีกฎหมายเฉพาะกำหนดให้มีความสามารถ (3) นิติบุคคล คณะบุคคล (4) ผู้ที่มีประกาศของนายกรัฐมนตรีใน รก. ให้มีความสามารถกระทำการในเรื่องนั้น

สิทธิของคู่กรณี (1) นำทนายความหรือที่ปรึกษา เข้ามาในการ พิจารณาทางปกครอง (2) แต่งตั้งบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะ กระทำการ แทนตน (3) ตัวแทนของบุคคลในคำขอที่มีคนละชื่อ ร่วมกัน 50 คน

เจ้าหน้าที่ (มาตรา 5, มาตรา 12 – มาตรา 20) อำนาจของเจ้าหน้าที่ (มาตรา 12) หลักความเป็นกลาง (มาตรา 13 – มาตรา 20)

อำนาจของเจ้าหน้าที่ (มาตรา 12) : องค์กรเดี่ยว อำนาจในแง่เนื้อหา (ผู้ทรงอำนาจ/ ผู้รับมอบอำนาจ) - อำนาจในแง่เวลา - อำนาจในแง่สถานที่

อำนาจในแง่เนื้อหา (1) : เจ้าหน้าที่ ผู้ทรงอำนาจ : พิจารณาจากกฎหมายที่ให้อำนาจออกคำสั่ง ผู้รับมอบอำนาจ

เจ้าหน้าที่ผู้รับมอบอำนาจ หลักเกณฑ์การมอบอำนาจ : ต้องมีกฎหมายมอบอำนาจ - กฎหมายกลาง - กฎหมายเฉพาะ : ต้องพิจารณาถึงตำแหน่งหรือเจ้าหน้าที่ ที่มีอำนาจรับมอบอำนาจ : การมอบต้องทำตามแบบ

หลักความเป็นกลาง - ความไม่เป็นกลางทางภาวะวิสัย (มาตรา 13) (เนื่องจากสภาพภายนอกของเจ้าหน้าที่) - ความไม่เป็นกลางทางอัตตะวิสัย (มาตรา 16) (เนื่องจากสภาพภายในของเจ้าหน้าที่) - วิธีปฏิบัติเมื่อมีปัญหานี้ (มาตรา 14-15) - บทยกเว้น (มาตรา 18) - ผลของการพิจารณาทางปกครองที่ขัดต่อ หลักความเป็นกลาง (มาตรา 17)

องค์กรกลุ่ม (1) 1. มีองค์ประกอบครบ (ดูมาตรา 19 มาตรา 77 มาตรา 79 วรรคสอง ประกอบ) 2. การดำเนินการเพื่อออกคำสั่งต้องทำในที่ประชุม (มาตรา 80) 3. ต้องครบองค์ประชุม (มาตรา 79)

องค์กรกลุ่ม (2) 4. จำนวนเสียงในการลงมติต้องเป็นไปตามที่กฎหมาย กำหนด (มาตรา 82 วรรคหนึ่ง) 5. กรรมการคนหนึ่งคนใดต้องไม่มีลักษณะขัดต่อ หลักความเป็นกลาง 6. เฉพาะกรรมการตามกฎหมายจึงมีสิทธิอยู่ในที่ประชุม

ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (2) ข้อต้องคำนึงในชั้นการพิจารณา(มาตรา 26 – มาตรา 33) - ต้องใช้หลักไต่สวนในการ แสวงหาข้อเท็จจริง - ต้องใช้หลักการพิจารณาโดยเปิดเผย

หลักไต่สวนในการแสวงหาข้อเท็จจริง เจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง ได้อย่างกว้างขวาง (มาตรา 28 และมาตรา 29) คู่กรณีมีหน้าที่ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ (มาตรา 29)

หลักการพิจารณาโดยเปิดเผย คู่กรณีมีสิทธินำทนายความหรือ ที่ปรึกษาเข้ามาในการพิจารณา (มาตรา 23) คู่กรณีได้รับแจ้งสิทธิและหน้าที่ของตน(มาตรา 27) ให้โอกาสคู่กรณีโต้แย้งในบางกรณี(มาตรา 30)

หลักการพิจารณาโดยเปิดเผยฯ (2) การรับฟังบุคคลฯ (1) - ในกฎหมายเฉพาะ - ใน วิ.ปกครองฯ

หลักการพิจารณาโดยเปิดเผยฯ (3) การรับฟังบุคคลฯ (2) (มาตรา 30) 1. บุคคลที่ต้องรับฟัง : คู่กรณี 2. กรณีที่ต้องรับฟัง 3. สิทธิในการต้องรับฟัง 4. ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องรับฟัง (มาตรา 30 วรรคสอง วรรคสาม)

หลักการพิจารณาโดยเปิดเผย (4) การรับฟังบุคคลฯ (3) (มาตรา 30) หลักการพิจารณาโดยเปิดเผย (4) การรับฟังบุคคลฯ (3) (มาตรา 30) 2. กรณี ที่ต้องรับฟัง : คำสั่งอาจกระทบตัวสิทธิของ คู่กรณี 4. ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องรับฟัง มาตรา 30 วรรคสอง : ข้อยกเว้นไม่เด็ดขาดเป็น ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ มาตรา 30 วรรคสาม : ข้อยกเว้นเด็ดขาด

(3) ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ (3) ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (3) ข้อต้องคำนึงในชั้นเสร็จการพิจารณา (มาตรา 34 - มาตรา 42) รูปแบบของคำสั่งทางปกครอง การให้เหตุผลประกอบการ ออกคำสั่งทางปกครอง การแจ้งคำสั่งทางปกครอง การแจ้งสิทธิอุทธรณ์

รูปแบบของคำสั่งทางปกครอง(มาตรา 34- มาตรา 36) อาจเป็นหนังสือ วาจา หรือโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่น ถ้าเป็นคำสั่งด้วยวาจา ผู้รับคำสั่งอาจขอให้ออกเป็นหนังสือได้ รายการในคำสั่งที่เป็นหนังสือ

การให้เหตุผลประกอบคำสั่ง (มาตรา 37) การให้เหตุผลประกอบคำสั่ง (มาตรา 37) - ประเภทของคำสั่งที่ต้องให้เหตุผล - รายการขั้นต่ำของเหตุผล - เหตุผลต้องระบุไว้ที่ใด - กรณีที่ไม่ต้องระบุเหตุผล

การแจ้งสิทธิอุทธรณ์ (มาตรา 40) - กรณีต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์ - รายการที่ต้องแจ้ง - ผลของการไม่แจ้ง

ผลของการไม่แจ้งสิทธิอุทธรณ์ - ระยะเวลาอุทธรณ์ขยายโดยเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งสิทธิ - ถ้าไม่ได้แจ้งและระยะเวลาอุทธรณ์น้อยกว่า 1 ปี ให้ขยายเป็น 1 ปี นับแต่วันที่ได้รับคำสั่ง

การแจ้งคำสั่ง (มาตรา 42) - คำสั่งเริ่มมีผลเมื่อใด - วิธีการแจ้งคำสั่ง (มาตรา 68 – มาตรา 74)

ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (4) (4) ขั้นตอนการทบทวนคำสั่งทางปกครอง (1) ทบทวนโดยคู่กรณียื่นอุทธรณ์ (2) ทบทวนโดยเจ้าหน้าที่ (3) ทบทวนโดยคู่กรณีขอให้พิจารณาใหม่

(1) ทบทวนโดยคู่กรณียื่นอุทธรณ์ (มาตรา 44 - มาตรา 46) ประเภทของคำสั่งที่อาจอุทธรณ์ ระยะเวลาที่ต้องอุทธรณ์ ผู้มีหน้าที่พิจารณาอุทธรณ์ ระยะเวลาในการพิจารณาอุทธรณ์ พิจารณาอุทธรณ์อะไรได้บ้าง

(2) ทบทวนโดยเจ้าหน้าที่ (มาตรา 49 – มาตรา 53) เจ้าหน้าที่จะยกเลิกเพิกถอนได้เมื่อใด การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบ ด้วยกฎหมายต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง การยกเลิกคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ต้องคำนึงถึงอะไร

การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 50 – มาตรา 52) การเพิกถอนคำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 50 – มาตรา 52) คำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ที่ไม่ให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่งฯ คำสั่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ที่ให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่ง

การยกเลิกคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย คำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายที่ไม่ให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่ง คำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายที่ให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่ง

(3) คู่กรณีขอให้พิจารณาใหม่(มาตรา 54) เหตุที่มีคำขอ ระยะเวลาที่ต้องยื่นคำขอ

ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ ขั้นตอนการพิจารณาทางปกครองตาม วิ. ปกครอง (5) (5) ขั้นตอนการบังคับตามคำสั่ง (มาตรา 55 – มาตรา 63) - กรณีที่ต้องมีการบังคับ การบังคับตามคำสั่งเป็นอำนาจของเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ

หลักสำคัญในการบังคับทางปกครอง ใช้เท่าที่จำเป็น ก่อนใช้ต้องมีการเตือนก่อนเสมอ(มาตรา 59) มาตรการที่ใช้ต้องมีความแน่นอนชัดเจน ผู้ถูกบังคับอาจโต้แย้งได้ (มาตรา 62)

ประเภทของมาตรการบังคับทางปกครอง คำสั่งให้ชำระเงิน : ยึด หรืออายัดทรัพย์สิน แล้วขายทอดตลาด (มาตรา 51) 2. คำสั่งให้กระทำหรือละเว้นกระทำ : เจ้าหน้าที่หรือมอบหมายให้ผู้อื่นดำเนินการแทน โดยผู้ฝ่าฝืนต้องชำระค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มหรือ ให้ชำระค่าปรับทางปกครองไม่เกิน 20,000 บาท/วัน (กฎกระทรวง ฉ.10 พ.ศ. 2539)

เรื่องอื่นๆ การแจ้ง (มาตรา 68 - มาตรา 74) ระยะเวลาและอายุความ (มาตรา 64 – มาตรา 67) การแจ้ง (มาตรา 68 - มาตรา 74) คณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง (มาตรา 75 - มาตรา 84)

การแจ้ง (1) 1. การแจ้งเป็นหนังสือโดยบุคคลนำไปส่ง ถ้าผู้รับ ไม่ยอมรับหรือไม่พบผู้รับขณะไปส่ง  หากส่งให้ บุคคลบรรลุนิติภาวะที่อยู่ หรือ ทำงานในสถานที่นั้น  หรือบุคคลบรรลุนิติภาวะนั้นยังไม่ยอมรับ ได้วางหรือปิดหนังสือนั้นในที่ซึ่งเห็นได้ง่าย ณ สถานที่นั้นต่อหน้าเจ้าพนักงานตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง  ได้รับแจ้งแล้ว (มาตรา 70)

การแจ้ง (2) 2. แจ้งโดยส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ  ได้รับแจ้งภายใน เจ็ดวันนับแต่วันส่ง สำหรับในประเทศ / 15 วัน ส่งไปยัง ต่างประเทศ เว้นแต่จะมีการพิสูจน์ได้ว่า ไม่มีการได้รับหรือ ได้รับก่อนหรือหลังจากวันนั้น (มาตรา 71) 3. ผู้รับ  50 คน เจ้าหน้าที่ได้แจ้งตั้งแต่เริ่มดำเนินการ ว่าจะแจ้งต่อบุคคลเหล่านั้น ใช้วิธีประกาศไว้ ณ ที่ทำการของเจ้าหน้าที่และที่ว่าการอำเภอที่ผู้รับ มีภูมิลำเนา  ได้รับแจ้งเมื่อล่วงพ้น 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งตามที่วิธีดังกล่าว

การแจ้ง (3) 4. ไม่รู้ตัวผู้รับ/รู้ตัวแต่ไม่รู้ภูมิลำเนา หรือรู้ตัวและภูมิลำเนา แต่ผู้รับเกิน 100 คน การแจ้งเป็นหนังสือโดยประกาศของ ทางหนังสือพิมพ์ ซึ่งแพร่หลายในท้องถิ่นนั้น  ได้รับแจ้ง เมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันที่แจ้งโดยวิธีดังกล่าว (มาตรา 73) 5. กรณีจำเป็นเร่งด่วน  ทางเครื่องโทรสาร แต่ต้องมีหลักฐาน การได้ส่งทางโทรสารของผู้ให้บริการ แล้วต้องจัดส่งคำสั่งตัวจริง โดยวิธีใดวิธีหนึ่งในหมวดนี้ ให้ผู้รับในที่ที่ทำได้ กรณีนี้ถือว่า ได้รับแจ้งคำสั่งเป็นหนังสือตามวันเวลาทันทีที่ปรากฏ ในหลักฐานของหน่วยงานผู้จัดบริการโทรคมนาคม เว้นแต่ จะมีการพิสูจน์ได้ว่า ไม่มีการได้รับหรือได้รับก่อน หรือหลังจากนั้น (มาตรา 74)

หลักการที่สำคัญเกี่ยวกับคณะกรรมการ ที่มีอำนาจดำเนินการพิจารณาทางปกครอง องค์ประชุม (มาตรา 79) การนัดประชุม (มาตรา 80) การลงมติ (มาตรา 82)