โครงการพัฒนาลดอัตราการติดเชื้ออช.1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550
Advertisements

B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ ( )
Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ
แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
หน้าต่างหลัก ของโปรแกรม Project Management เป็นโปรแกรมที่ ช่วยดูแล การ จัดการของงาน ต่างๆ ให้มี ความเป็น ระเบียบ และ ตรวจสอบการ ทำงานได้ง่าย ยิ่งขึ้น.
Kittirat Sawasrak M.N.S.(Infection Control) Infection Control Nurse
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
สถานการณ์ และข้อมูลเกี่ยวกับ Ebola และ MERS COV
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน สำนักความปลอดภัยแรงงาน
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
PERITONITIS IN CAPD.
Principal pathology of Infection พยาธิวิทยาการติดเชื้อ
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
นิรันดร์ จ่างคง 4 กันยายน 2561 ณ ห้องประชุม ๑๐๐ ปี การสาธารณสุขไทย
Raviwan Omaree, RN. Infection Control Nurse : ICN Chomethong Hospital
การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
BONE INFECTION (osteomyelitis)
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
บทเรียนจาก VRE / CRE และ เชื้อดื้อยา
ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
Service Plan : Rational Drug Use(RDU)
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
Time management.
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
รายรับ ของรัฐ อาจารย์สอง Satit UP.
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
ความหมายของการจัดโครงสร้างองค์การ
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
The Child with Renal Dysfunction
Rational Drug Use (RDU)
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
เอกสารเคมี Chemistry Literature
บทที่ 3 การเตรียมดำเนินโครงการ
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
บทที่ 2 การจัดองค์กรขนส่ง 2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาลดอัตราการติดเชื้ออช.1 ปัญหาการติดเชื้อแบคทีเรียดื้อยาในโรงพยาบาลเป็นปัญหาที่ทวี ความรุนแรงมากขึ้นพบว่าเชื้อแบคทีเรียมีการเปลี่ยนแปลงความไว ของการดื้อยาปฏิชีวนะ เชื้อดื้อยาหมายถึงเชื้อโรคที่พบมีการดื้อต่อยาที่เราใช้รักษาเมื่อเราติด เชื้อดื้อยาจะทำให้ไม่มียาสำหรับรักษา

เชื้อดื้อยาที่พบ Staphylococus aureus Pseudomonas aerginosa Acinetobacter baumannii Klebsiella pneumoniae E.coli จากการเก็บข้อมูลทางตึกปี2553 ปี2554 ปี2555และปี2556 พบ ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาดังนี้ 2.39 , 2.86 7.74 , 12.62 ต่อ 1000 วัน นอนเรียงข้อมูลตามลำดับ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดอัตราการติดเชื้อดื้อยาน้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 ต่อ 1,000 วันนอน 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อและการระบาด ของเชื้อดื้อยา 3. เพื่อนำแนวทางการดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาที่เป็นแนวทางเดียวกัน

วิธีการดำเนินการ รวบรวมข้อมูลแจ้งผลการติดเชื้อดื้อยาแก่สมาชิกในตึก ให้ความรู้เจ้าหน้าที่ประจำตึกในการดูแลป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อดื้อยา ระดมสมองในการหาแนวทางการป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อดื้อยา นำแนวทางการปฏิบัติ ประเมินปัญหาจากการปฏิบัติ ปรับปรุง แก้ไขพัฒนาเรื่อยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ดื้อยา

ระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 1. การติดตามผลตรวจการส่งเพาะเชื้อในทุกเวรดึกโดยเมื่อพบผลการ ตรวจบันทึกลงในใบ PDRและลงข้อมูลในใบ Line listing 2. หัวหน้าแต่ละเวรที่จะทำการส่งเวรให้กันมีการสร้างระบบส่งเวรข้อมูล เรื่องการติดเชื้อในผู้ป่วยที่ให้การดูแลโดย 3. ICWN ตรวจสอบข้อมูลในใบ Line listing ทุกวันและวินิจฉัยการติด เชื้อทั้งในผู้ป่วยติดเชื้อในรพ.และ ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาร่วมกับการ วินิจฉัยของแพทย์ 4. ICWN รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการติดเชื้อ และส่งไฟล์ข้อมูลให้ งาน IC. ก่อนวันที่ 28 ของเดือน รวมทั้งบันทึกข้อมูลทางโปรแกรม ICN

ระบบการให้ความรู้ ICWN / ICN ทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ในเรื่องเชื้อดื้อยาและการ ดูแลตามมาตรฐานแก่ทีมการพยาบาลเมื่อพบผู้ป่วยที่สงสัยมีการ ติดเชื้อ

การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ และควบคุมสิ่งแวดล้อม 1.ให้ผู้ให้การดูแลผู้ป่วยทุกรายปฏิบัติตามหลัก standard precautions ขณะให้การดูแลผู้ป่วยทุกราย และปฏิบัติตามหลัก contact precautions 2. เมื่อจัดการอุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้กับผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อดื้อยา และ ทำความสะอาดและทำลายเชื้ออุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วย รวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ของผู้ป่วยอย่างถูกวิธี รวมกับการให้ยาปฏิชีวนะตรงขนาด ชนิด และเวลา 3. มีระบบสื่อสารนโยบายและแนวปฏิบัติในการทำความสะอาดและ ทำลายเชื้อพื้นผิวสิ่งแวดล้อม รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วย แก่ บุคลากรทุกระดับในหน่วยงาน

การสื่อสาร การเคลื่อนย้าย และส่งต่อผู้ป่วย 1. มีการรับเวรส่งเวรภายในหน่วยงาน มีการติดป้ายที่หน้าเตียง Chart และมีการโทรประสานงานเมื่อผู้ป่วยออกจากตึก 2. ในผู้ป่วยส่งต่อไปโรงพยาบาลอื่น ให้ประสานแพทย์เจ้าของ ไข้ในการส่งต่อข้อมูลการติดเชื้อดื้อยาและการรักษา รวมทั้ง สำเนาเอกสารผลการตรวจเพาะเชื้อแนบใบส่งตัวทุกครั้ง

การนิเทศและการประเมินผล ติดตามความก้าวหน้า 1. มีระบบการนิเทศ เพื่อให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานในการ ดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยา ทั้งในเวลาและนอกเวลาราชการโดยผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง เช่น HW, Senior staff, ตัวแทน ICWN 2. มีการแจ้งผลการเฝ้าระวังให้แก่เจ้าหน้าที่ในการประชุม ประจำเดือน

กราฟแสดง ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา อช1ปี57

12