SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
other chronic diseases
Advertisements

ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาล
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
แผนปฏิบัติการยึดคืน พัฒนา และจัดสรรพื้นที่
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
Infection control of Tuberculosis Pulmonary, Critical Care & Allergy
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Personal Protective Equipment (PPE)
Raviwan Omaree, RN. Infection Control Nurse : ICN Chomethong Hospital
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
RIHES-DDD TB Infection control
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย (Lab Safety)
อาชีวอนามัย บทที่ 5. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
ระเบียบวาระการประชุม
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 31 Mar 2017.
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
Mr. Chaiwat Tawarungruang
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
SOP RIHES-CC version 6.0-Communication with CAB
การขอความยินยอมเข้าร่วมในการศึกษาโครงการ HIV/AIDS
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
โดย ทันตแพทย์หญิงวรวรรณ อัศวกุล ศูนย์อนามัยที่ ๕ ราชบุรี
Service Profile :งานจ่ายกลาง รพร.เดชอุดม
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางปะหัน.
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
การตรวจราชการและนิเทศงาน
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) จำนวน CD4 ป้องกันได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016

จุดประสงค์ ( Purpose) และ ขอบเขตการใช้งาน ( Applies for) เพื่อให้จนท. ของโครงการวิจัยในสถาบันฯ (Health Care Worker-HCW) ที่ต้องสัมผัสผู้ป่วยสงสัย หรือ ยืนยันว่าเป็นวัณโรค ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเพื่อป้องกันการเป็นวัณโรคและป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคของอส.ที่ป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

วิธีดำเนินการ (Procedures) สถานที่ (Facility level Measurers) การบริหารจัดการ (Administrative controls) การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environmental controls) อุปกรณ์และการป้องกัน (Personal protective equipment -PPE)

วิธีดำเนินการ (Procedures) สถานที่ (Facility level Measures) Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

ตู้เก็บเสมหะ (Biosafety Cabinet For Respiratory Disease) สถาบันฯ จัดเตรียมตู้เก็บเสมหะ ( Biosafety Cabinet For Respiratory Disease) เพื่อใช้ในการเก็บ เสมหะของผู้ที่สงสัย/เป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ อยู่ในบริเวณส่วนรอตรวจ หน้าห้องตรวจ 4 ซึ่งตู้ดังกล่าวเป็นระบบปิด และมีระบบฆ่าเชื้อด้วยแสง Ultra Violet ทั้งก่อนและหลังการใช้งาน

ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ (Respiratory Infection Treatment Room) สถาบันฯ จัดเตรียมห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ เป็นห้องตรวจแยกสำหรับผู้ที่เป็นวัณโรคและ/หรือ มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจที่แพร่กระจายในอากาศ (Respiratory Infection Treatment Room) ซึ่งเป็นห้องตรวจที่มีการควบคุมระบบความดันอากาศเป็น Negative pressure ระบบการระบายอากาศแยกจากระบบส่วนกลาง และมีระบบทำความสะอาดอากาศก่อนปล่อยออกภายนอก ร่วมกับมีเครื่องฟอกอากาศ HEPA filter ห้องดังกล่าวมีการตรวจสอบการจัดวางตำแหน่งอุปกรณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ส่วนรอตรวจ ( waiting area) เป็นสถานที่โล่ง มีอากาศถ่ายเท ซึ่งจัดทำเป็นสวนหย่อมหน้าห้องตรวจ 4

วิธีดำเนินการ (Procedures) Facility level Measures การบริหารจัดการ (Administrative controls) Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

หากบุคคลใดทั้งจนท. และ อส หากบุคคลใดทั้งจนท. และ อส. มีอาการไอ จาม ให้ใช้หน้ากากอนามัย ( surgical MasK)ซึ่งมีจัดเตรียมไว้ในคลินิกวิจัยทุกคลินิก 2. ให้จนท. ประจำจุดแรกที่พบอส. ของแต่ละคลินิกวิจัย ดำเนินการซักประวัติเบื้องต้นเพื่อคัดกรอง อส. หรือผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรค ประกอบด้วยอาการ ไอเรื้อรัง 2 สัปดาห์ขึ้นไป ไอเป็นเลือด อาการไข้ เหงื่อออกตอนกลางคืน น้ำหนักลด เบื่ออาหาร หากพบว่า อสมีอาการดังกล่าว 2 อย่างขึ้นไป แนะนำให้อสใส่หน้ากากอนามัยชนิด surgical mask และให้แยกอส. ส่งเข้าห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ (โทร 36058) หมายเหตุ หากอส. รายดังกล่าวเป็นอส.ที่พบในคลินิกหรือโครงการวิจัยอื่นของสถาบันฯ ที่ไม่ได้ใช้คลินิกรักษ์สุขภาพ ในการตรวจอส ขอให้จนท.ในคลินิกที่พบอส.หรือผู้ป่วยดังกล่าว โทร 36058 (คลินิกรักษ์สุขภาพ) เพื่อให้จนท.ประจำคลินิกรักษ์สุขภาพได้จัดเตรียมห้องตรวจ 4 เพื่อรอรับการมาใช้บริการของคลินิก/โครงการนั้นๆ ต่อไป

3. การดูแลอส.หรือผู้ป่วยที่สงสัย/ยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ และผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือวัณโรคดื้อยา ให้ดำเนินการดูแลแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop service) ณ. ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ และจัดหาผ้าปิดปากและจมูกให้ผู้ป่วยสวมและให้กระดาษทิชชูแก่ผู้ป่วยเพื่อใช้ปิดปากและจมูกเวลาไอจาม ส่วนจนท.ผู้ปฏิบัติงานให้ใช้หน้ากากอนามัยชนิด N95 หมายเหตุ วัณโรคดื้อยา ได้แก่ ผู้ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อน ผู้ป่วยที่ล้มเหลวต่อการรักษาด้วยสูตรยารักษาซ้ำ ผู้ป่วยที่ล้มเหลวต่อการรักษาด้วยสูตรยารักษาผู้ป่วยรายใหม่ โดยให้การรักษาถึงเดือนที่ 5 เสมหะยังพบเชื้อ ผู้ป่วยที่กลับเป็นซ้ำ (relapse) ผู้ป่วยกลับมารักษาซ้ำหลังขาดยาผู้ป่วยรายใหม่ที่มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วย MDR-TB ผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความชุกของ MDR-TB สูง ผู้ป่วยที่มีโรคร่วม มีบางการศึกษาที่ พบว่าผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี พบ MDR-TB สูงขึ้น

4.. การวินิจฉัย หรือการตรวจต่างๆ ที่มีผลให้เกิดการฟุ้งกระจายของเชื้อวัณโรค ให้ดำเนินการในห้องตรวจ 4 (respiratory infection treatment room) หากต้องมีการเก็บเสมหะที่คลินิก ให้จนท.ให้คำแนะนำวิธีการเก็บเสมหะอย่างถูกวิธี และเก็บเสมหะในตู้ เก็บเสมหะที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งตั้งอยู่อยู่ในบริเวณส่วนรอตรวจ หน้าห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ 5. หากจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อออกจากห้องแยก ให้ผู้ป่วยสวมผ้าปิดปากและจมูก (surgical mask) เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคสู่หน่วยงานอื่น 6. จัดอบรมและ/หรือส่งเสริมให้ความรู้กับบุคลากรเกี่ยวกับวัณโรค รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ

วิธีดำเนินการ (Procedures) Facility level Measures Administrative controls การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environmental controls) Personal protective equipment (PPE)

มีการเปิดระบบทำลายเชื้อโรคด้วยรังสี Ultraviolet โดยจนท มีการเปิดระบบทำลายเชื้อโรคด้วยรังสี Ultraviolet โดยจนท.เปิด UV lamp ทุกวันหยุดราชการ วันละ 2 ชั่วโมง เวลา20-22 น. เมื่อจนท.ดำเนินการแล้วบันทึกลงใน ตารางบันทึกการเปิดระบบ UV เพื่อฆ่าเชื้อในอากาศของคลินิก (UV record) .ซึ่งเก็บไว้ในแฟ้มบันทึกการตรวจสอบเครื่องมือ ที่คลินิกรักษ์สุขภาพ มีการตรวจสอบความพร้อมของตู้เก็บเสมหะ โดยจนท.เปิดสวิทช์ทดสอบการทำงานของตู้ เดือนละ 1 ครั้ง และทุกครั้งก่อนมีการใช้งาน เมื่อจนท.ดำเนินการแล้วบันทึกลงในตารางบันทึกการตรวจสอบตู้เก็บเสมหะ (Biosafety Cabinet) ซึ่งเก็บไว้ในแฟ้มบันทึกการตรวจสอบเครื่องมือ ที่คลินิกรักษ์สุขภาพ นอกจากนี้ให้ผู้ประสานงานติดต่อบริษัทผู้รับผิดชอบเพื่อตรวจและบำรุงรักษาปีละ 1 ครั้ง ก่อนรับอส/ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ เข้าห้องตรวจ 4 ให้จนท.เปิดระบบการระบายอากาศและกรองเชื้อโรคเตรียมไว้ และภายหลังการใช้ห้องตรวจ 4 สำหรับผู้ป่วยที่สงสัย/ยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ ให้ใช้สเปรย์ฆ่าเชื้อที่เตรียมไว้ในห้องตรวจ 4 ฉีดฆ่าเชื้อ รอนาน 1 ชัวโมงก่อนเปิดใช้ในครั้งต่อไป จนท.ล้างมือด้วยน้ำยาล้างมือหรือแอลกอฮอล์ทุกครั้งภายหลังเสร็จสิ้นหัตถการ จัดเตรียมแอลกอฮอล์ลำหรับอส.ทำความสะอาดมือไว้ในคลินิก

วิธีดำเนินการ (Procedures) Facility level Measures Administrative controls Environmental controls อุปกรณ์และการป้องกัน (Personal protective equipment -PPE)

มีการจัดเตรียมและตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ หน้ากากอนามัยชนิด surgical mask หน้ากาก N95 ถุงมือใช้แล้วทิ้ง ตลอดจน น้ำยาล้างมือและหรือแอลกอฮอล์ทำความสะอาด ให้พร้อมใช้อยู่เสมอ ดูแลความสะอาดเรียบร้อยของคลินิก ห้องตรวจ 4 และ ตู้เก็บเสมหะให้พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา จัดให้มีการตรวจสุขภาพจนท.สถาบันฯ ทุก 2 ปี ซึ่งมีการตรวจและซักประวัติเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค ตลอดจนมีการส่งตรวจเอกซเรย์ทรวงอก (CXR) ตามความเหมาะสม สำหรับจนท.กลุ่มเสี่ยงที่ต้องดูแลหรือสัมผัสกับผู้ป่วยหรือสิ่งส่งตรวจของอสทีหรือผู้ป่วยสงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรค แพทย์ให้มีการชักประวัติคัดกรองปีละ 1 ครั้ง และส่งตรวจเอกซเรย์ทรวงอก (CXR) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเห็นของแพทย์ แพทย์พิจารณาให้การตรวจเพิ่มติมในกรณีจนท.มีอาการน่าสงสัยเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ และหากตรวจพบจนท.ป่วยเป็นวัณโรค ต้องดำเนินการประสานงานและส่งต่อตามระบบการรักษาพื่อให้จนท.ดังกล่าวได้รับการรักษาตามความเหมาะสม ร่วมกับทำการตรวจสอบและคัดกรองจนท.อื่นซึ่งทำงานใกล้ชิดกับจนท.คนดังกล่าวและส่งต่อเพื่อรับยาป้องกันวัณโรคหากจำเป็น

สำหรับจนท.โครงการวิจัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค รวมถึงเจ้าหน้ารายใหม่ จัดให้มีการตรวจ PPD test และCXR ก่อนเริ่มโครงการ หากผลการตรวจเป็น Negative ให้ตรวจ PPD test ซ้ำทุก 2 ปี ถ้าในครั้งต่อมาตรวจพบว่าจนท.ติดเชื้อวัณโรคแฝง (ผลการตรวจเป็นบวก, CXR ปกติ) จะทำการส่งพบ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการรักษาการติดเชื้อแฝง สำหรับจนท.โครงการวิจัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคหรือทำโครงการเกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อในระบบ ทางเดินหายใจ จัดให้มีการทำ Fit test อย่างน้อยปีละครั้ง ส่วนจนท.ใหม่ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคหรือทำโครงการเกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหาย ให้ทำ Fit test ก่อนให้การดูแลผู้ป่วยหรือก่อนเริ่มทำงานในโครงการ RIHES PPD test yr2015 : total 43 Positive 6 (14%), Neg 37 ( 86%)

การอบรมวิธีปฏิบัติงาน (Training) จนท.จะต้องได้รับการอบรมและฝึกฝนวิธีปฏิบัติงานนี้ ก่อนที่จะเริ่มโครงการใหม่ จนท.จะต้องพิจารณาปรับปรุงวิธีการปฏิบัตินี้ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของโครงการเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จนท.จะได้รับ SOP ที่จะต้องปฏิบัติตาม การอบรมและฝึกฝนวิธีปฏิบัติงานนี้จะต้องมีการจดบันทึกและตรวจสอบได้ จนท.ที่เข้ามารับผิดชอบงานใหม่จะต้องผ่านการอบรมและฝึกฝนวิธีปฏิบัติงานนี้ภายใน 60 วันนับจากวันที่รับหน้าที่ หากมีการแก้ไขและรับรองวิธีปฏิบัติงานนี้ จะต้องทำการฝึกอบรมวิธีการปฏิบัติงานวิธีใหม่แก่จนท.ภายใน 60 วัน

Thank You