(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
รายละเอียดการทดสอบ NT
ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถด้านการคิดคำนวณ (Numeracy) ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Abilities)
กลุ่มเป้าหมายในการทดสอบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560 ทุกสังกัดทั่วประเทศ ประมาณ 800,000 คน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำเนินการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (National Test: NT) ปีการศึกษา 2559 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หน่ายงานที่ร่วมสอบ ๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ๓. สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๔. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ๕. สำนักการศึกษาเมืองพัทยา ๖. โฮมสคูล ๗. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ๘. สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร ๙. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๑๐. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมสอบในแต่ละสังกัด ปีการศึกษา 2559 ที่ ชื่อสังกัด จำนวนนักเรียนที่เข้าสอบ (คน) จำนวนเด็กปกติ จำนวนเด็กพิเศษ 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 525,264 468,804 56,540 2 สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 181,747 177,101 4,646 3 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 3,407 3,297 110 5 สำนักการศึกษาพัทยา 1,279 1,278 6 โฮมสคูล 136 7 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 49,973 48,533 1,440 8 สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร 33,106 32,020 1,086 9 สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 93 10 กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2,939 2,785 154 รวม 797,946 734,049 63,897
วันพุธที่ 7 มีนาคม 2561 วันสอบ วันจันทร์ที่ 30 เมษายน 2561 ประกาศผล
ตารางสอบ วันที่ 7 มีนาคม 2561 เวลา 9.00 – 14.00 น. 7 มีนาคม 2561
สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. กลุ่มพัฒนาเครื่องมือฯ และการให้บริการ กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา กลุ่มงาน พัฒนาข้อสอบ NT (3 ด้าน) บริการ จัดการทดสอบ รายงานผล การทดสอบ บทบาท มีมาตรฐานและ ถูกต้องตามหลักวิชาการ รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และมีความน่าเชื่อถือ จุดเน้น
เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ
โครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ เหตุผล (Reasoning ability) ด้าน เลือกตอบ เขียนตอบสั้น เขียนตอบอิสระ ภาษา (Literacy) 27 2 1 คำนวณ (Numeracy) เหตุผล (Reasoning ability) สามารถ Download ได้ที่ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบ NT สถานการณ์ (ชีวิตประจำวัน) โจทย์ข้อคำถาม (ถามเกี่ยวกับข้อมูลในสถานการณ์) คำตอบ (ซ่อนอยู่ในสถานการณ์)
สถานการณ์ โจทย์ข้อคำถาม คำตอบ
กำหนดการบริหารจัดการทดสอบ NT ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1 สร้างแบบทดสอบ NT และกำหนดเกณฑ์การประเมิน เม.ย. 60 – ม.ค. 61 สพฐ. 2 ปรับปรุงโปรแกรม NT Access ส.ค. – ต.ค. 60 3 แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการทดสอบ NT ระดับ สพฐ. ก.ย. 60 4 ประชุมคณะกรรมการอำนวยการทดสอบ NT ระดับ สพฐ. ต.ค. 60 5 ประชุมชี้แจงผู้แทนศูนย์สอบของ สพฐ. และผู้แทนสังกัดอื่น ๆ เกี่ยวกับแนวทางการจัดสอบและการใช้โปรแกรม NT Access รุ่นที่ 1 7 – 10 พ.ย.60 รุ่นที่ 2 12–15 พ.ย.60 6 ศูนย์สอบนำเข้าและตรวจสอบข้อมูลสถานศึกษาที่มีสิทธิ์สอบ ผ่านระบบ NT Access 10 – 17 พ.ย. 60 ศูนย์สอบ 7 สถานศึกษานำเข้าข้อมูลนักเรียนที่มีสิทธิ์สอบ ผ่านระบบ NT Access 20 พ.ย. – 22 ธ.ค. 60 สถานศึกษา 8 ศูนย์สอบสำรวจและจัดสนามสอบ 22 – 31 ธ.ค. 60 9 สถานศึกษาตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลนักเรียนที่มีสิทธิ์สอบ ผ่านระบบ NT Access (ครั้งสุดท้าย) 3 – 10 ม.ค. 61 10 สพฐ. ตรวจสอบการจัดสนามและข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ 10 – 15 ม.ค. 61
กำหนดการบริหารจัดการทดสอบ NT ศูนย์สอบร่วมกับสนามสอบ ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 11 ศูนย์สอบแต่งตั้งคณะกรรมการจัดสอบระดับศูนย์สอบและสนามสอบ 16 – 31 ม.ค. 61 ศูนย์สอบ 12 ศูนย์สอบประชุมชี้แจงคณะกรรมการจัดการสอบระดับศูนย์สอบและสนามสอบ เกี่ยวกับการบริหารจัดการสอบ 26 ก.พ. – 6 มี.ค. 61 13 สพฐ. จัดจ้างพิมพ์ข้อสอบและกระดาษคำตอบ 12 - 28 ก.พ. 61 สพฐ. 14 จัดส่งข้อสอบและกระดาษคำตอบไปยังศูนย์สอบ 1 - 5 มี.ค. 61 15 ศูนย์สอบดำเนินการจัดสอบ 7 มี.ค.61 16 สนามสอบตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบ 8 - 9 มี.ค.61 ศูนย์สอบร่วมกับสนามสอบ 17 สพฐ. และศูนย์สอบ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ 6 - 10 มี.ค.61 สพฐ.ร่วมกับศูนย์สอบ 18 สพฐ. เผยแพร่ข้อสอบและเฉลย/แนวคำตอบ 15 มี.ค.60 เป็นต้นไป 19 สพฐ. รับกระดาษคำตอบจากศูนย์สอบ 10 - 14 มี.ค.61 สพฐ.และศูนย์สอบ 20 ตรวจกระดาษคำตอบปรนัยและประมวลผลคะแนนการทดสอบ 15 มี.ค.– 20 เม.ย.61 21 ประกาศผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ 30 เม.ย.61 22 สรุปและรายงานผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติต่อสาธารณชน พ.ค. 61
กรอบแนวคิดในการทดสอบ NT
ความสำคัญของการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT) 3Rs Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) Arithmetic (คำนวณ)
ความสำคัญของการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT) ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ความสามารถพื้นฐาน Literacy, Numeracy, Reasoning abilities พัฒนา คุณภาพตามมาตรฐานและตัวชี้วัด 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ O-NET NT
ตัวชี้วัด LNR กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัดของหลักสูตร กลุ่มสาระ การเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เชื่อมโยง
รูปแบบการบริหารจัดการ กระจายอำนาจการบริหารจัดการ สพฐ. โรงเรียน สนามสอบ ศูนยฺสอบ ศูนย์สอบ ความยุติธรรมและความโปร่งใส หมายเหตุ ศูนย์สอบสามารถกำหนดให้สถานศึกษาที่นักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบากเป็นสนามสอบได้
การบริหารจัดการศูนย์สอบ สพป. อปท. กทม. พัทยา สช. (ส่วนกลาง) ร.ร. สพป. ร.ร. สพม. ร.ร. เอกชน ร.ร. ตชด. ร.ร. สาธิตมหาวิทยาลัย ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ ร.ร. การศึกษาพิเศษ Home School ร.ร. อบต. ร.ร. เทศบาล ร.ร. อบจ ร.ร. กทม. ร.ร. เมืองพัทยา ร.ร.เอกชน ในกรุงเทพมหานคร หมายเหตุ ศูนย์สอบสามารถกำหนดให้สถานศึกษาที่นักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบากเป็นสนามสอบได้
การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการ NT คณะกรรมการอำนวยการระดับ สพฐ. คณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ คณะกรรมการระดับสนามสอบ เพิ่มกรรมการตรวจข้อสอบอัตนัย* คณะกรรมการระดับห้องสอบ หมายเหตุ * ในกรณีที่ศูนย์สอบกำหนดให้ตรวจข้อสอบอัตนัยที่สนามสอบ
การบริหารจัดการสอบ NT ระดับศูนย์สอบและสนามสอบ
บทบาทหน้าที่ สพฐ. ศูนย์สอบ/เขตพื้นที่ สนามสอบ/โรงเรียน แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการระดับ สพฐ. สร้างข้อสอบ NT ประสานหน่วยงานต่างสังกัด ประชุมชี้แจงเขตพื้นที่ จัดสรรงบประมาณการสอบ จัดพิมพ์ข้อสอบและกระดาษคำตอบ ควบคุมการจัดส่ง – รับกระดาษคำตอบ ตรวจเยี่ยมสนามสอบ ตรวจข้อสอบและประมวลผล เผยแพร่ข้อสอบและเฉลย รายงานผลการสอบ แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ กำหนดสนามสอบและห้องสอบ แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบ ชี้แจงแนวทางการจัดสอบ NT ติดตามการตรวจสอบข้อมูลนักเรียนของโรงเรียน ในระบบ NT Access รับข้อสอบจากโรงพิมพ์ บริหารจัดการสอบ รับ-ส่งข้อสอบและกระดาษ คำตอบกับสนามสอบ ตรวจข้อสอบอัตนัย ส่งกระดาษคำตอบให้กับโรงพิมพ์ ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในโรงเรียนในระบบ NT Access แจ้งรายชื่อสนามสอบและจำนวนห้องสอบ จัดสอบ NT ตรวจข้อสอบอัตนัย* ส่งกระดาษคำตอบไปยังศูนย์สอบ แจ้งผลการสอบ NT ให้แก่นักเรียนเป็นรายบุคคล หมายเหตุ * ในกรณีที่ศูนย์สอบกำหนดให้ตรวจข้อสอบอัตนัยที่สนามสอบ
การบริหารจัดการสอบ 1. ให้ผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ เป็น ประธานสนามสอบ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบจากต่างโรงเรียน 3. ศูนย์สอบจะเป็นหน่วยงานหลัก ในการประสานความร่วมมือกับ สพฐ. และหน่วยงานภายในสังกัดในพื้นที่จังหวัดของตนเอง 4. สพฐ.จะเป็นผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตข้อสอบและกระดาษคำตอบ ให้แก่นักเรียนทุกสังกัด (รวมการจัดส่งด้วย)
แนวปฏิบัติในการบริหารจัดการสอบ การจัดสนามสอบและห้องสอบ ใช้อัตราจํานวนผู้เข้าสอบ 30-35 คน ต่อห้อง โดยการจัดห้องสอบจะจัดนักเรียนเข้าห้องสอบ ทีละโรงเรียน แบบเรียงตามพยัญชนะของชื่อโรงเรียน และการเรียงลำดับเลขที่นั่งของนักเรียน ในแต่ละโรงเรียนจะจัดเรียงตามที่โรงเรียนส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Access
การตรวจข้อสอบเขียนตอบ
การตรวจข้อสอบเลือกตอบ การตรวจข้อสอบเขียนตอบ การตรวจข้อสอบแบบเลือกตอบ สพฐ. ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการตรวจกระดาษคำตอบ ณ หน่วยงานที่ สพฐ. จัดจ้าง โดยมีเจ้าหน้าที่ของ สพฐ. อยู่ประจำที่หน่วยตรวจจนกว่าจะตรวจข้อสอบเสร็จ โดยเริ่มตรวจสอบเอกสารและตรวจกระดาษคำตอบ ระหว่างวันที่ 17 - 31 มีนาคม 2561 การตรวจข้อสอบเขียนตอบ การตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบ ให้คณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบ ณ ศูนย์สอบ หรือกลุ่มเครือข่าย ในวันที่ 8 หรือ 9 มีนาคม 2561 โดยมีกรรมการตรวจข้อสอบ อย่างน้อย 2 คน ต่อหนึ่งฉบับ ทั้งนี้ศูนย์สอบอาจพิจารณาให้ตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบที่สนามสอบได้ ตามความเหมาะสมของสภาพและบริบทพื้นที่ โดยคำนึงถึงความบริสุทธิ์ ยุติธรรมและโปร่งใส
การบรรจุกระดาษคำตอบหลังการตรวจ 1. กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบ ทำการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของกระดาษคำตอบ แล้วบรรจุกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบ โดยเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ในซองบรรจุกระดาษคําตอบเพื่อส่งกลับ พร้อมใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ สพฐ.2 (สำหรับส่งคืน สพฐ.) แบบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (walk in) ให้ใส่สพฐ.3 (สำหรับส่งคืน สพฐ.) จากนั้น ปิดผนึกซองกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบต่อหน้ากรรมการระดับศูนย์สอบ และให้กรรมการตรวจข้อสอบเขียนตอบเซ็นชื่อกำกับทั้ง 2 คน 2. ศูนย์สอบบรรจุซองกระดาษคำตอบแบบเลือกตอบลงในกล่องปรับขนาด พร้อมกรอกข้อมูลหน้ากล่อง ระบุจํานวนซองกระดาษคําตอบเพื่อส่งกลับ (แบบเลือกตอบ) ที่บรรจุอยู่ในกล่องให้ถูกต้องเพื่อส่งกลับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. สนามสอบบรรจุกระดาษคำตอบแบบเขียนตอบ (ที่ตรวจแล้ว) ใส่ซองกระดาษคำตอบ ข้อสอบแบบเขียนตอบ พร้อมใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ สพฐ.2 (สำหรับเก็บไว้ที่ศูนย์สอบ) เก็บไว้ที่ศูนย์สอบ เพื่อการขอตรวจสอบคะแนนในภายหลัง
โปรแกรมในการบริหารจัดการสอบ NT Access
NT Access
ระบบในการบริหารจัดการสอบ NT (NT Access) หน่วยงาน ต้นสังกัด แก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน แก้ไขข้อมูลนักเรียน ตรวจสอบรายชื่อสนามสอบ ดูผลการทดสอบ ระบบเปิด 8 พฤศจิกายน 60 NT Access ศธ.จ. ดูผลการทดสอบ ศูนย์สอบ เพิ่ม/ลดโรงเรียนในสนามสอบ แก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน ตรวจสอบรายชื่อสนามสอบ จัดสนามสอบ ดูผลการทดสอบ สถานศึกษา เพิ่มข้อมูลนักเรียน แก้ไขข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน กำหนดห้องสอบในสนามสอบ ดูผลการทดสอบ
โปรแกรม NT Access NT Access
แนวปฏิบัติของศูนย์สอบในโปรแกรม NT Access ตรวจสอบรายชื่อโรงเรียน เพิ่ม / ลดโรงเรียนที่เข้าสอบ ชี้แจงการใช้โปรแกรม NT Access ให้แก่สถานศึกษา - การแก้ไขข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน - การนำเข้าข้อมูลนักเรียน - การแก้ไขข้อมูลนักเรียน - การกำหนดห้องสอบ - การตรวจสอบข้อมูลห้องสอบของนักเรียน - การพิมพ์บัตรประจำตัวผู้สอบ - การดูผลการสอบ จัดสนามสอบ/ห้องสอบ
การเพิ่มโรงเรียนเข้าใน NT Access ให้ศูนย์สอบแจ้งมายัง สพฐ. ผ่าน Line กลุ่ม ศน.วัดผล (NT) หรือส่งโดยตรงที่กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ รหัสโรงเรียน ชื่อโรงเรียน สังกัด (สพฐ., ตชด, เอกชน ฯลฯ) ที่อยู่ปัจจุบัน หมายเหตุ เมื่อนำเข้าเสร็จแล้ว สพฐ. จะแจ้งให้ทราบผ่าน Line กลุ่ม ศน.วัดผล (NT)
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ NT NT Access โรงเรียน นักเรียน ส่งข้อมูล ตรวจสอ บ ศูนย์สอบ กระดาษคำตอบ แบบรายงานผลสอบ
แนวปฏิบัติของโรงเรียนในโปรแกรม NT Access ตรวจสอบ/แก้ไขข้อมูล พื้นฐานของโรงเรียน นำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้า สอบ แก้ไขข้อมูลนักเรียน กำหนดห้องสอบ ตรวจสอบข้อมูลห้องสอบ ของนักเรียน พิมพ์บัตรประจำตัวผู้สอบ ดูผลการสอบ
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนใน NT Access ช่องทางที่ 2 กรอกในไฟล์ Excel ที่โหลดจากโปรแกรม (ล่าสุด) แล้วนำส่งเข้าโปรแกรม NT Access ข้อมูลเดิม ข้อมูลใหม่ แทนที่
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เป็นคนต่างด้าว กรณีที่ทราบเลข 13 หลัก ให้กรอกเลข G211123311111 ในโปรแกรมได้เลย กรณีที่ไม่ทราบเลข 13 หลัก ให้กรอกเลขรหัสโรงเรียน ตามด้วยเลขลำดับที่ 3 หลัก ตัวอย่างเช่น โรงเรียนวิเวอร์ไซด์วิทยา รหัสโรงเรียน 1004324688 1. เด็กชายโคเละ นากาโละเคะ รหัส 1004324688001 2. เด็กชายปอย ไม่มีนามสกุล รหัส 1004324688002
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ NT 1. ศูนย์สอบนำเข้าข้อมูลสถานศึกษาในสังกัดของตนเองผ่านระบบ NT Access (10-17 พ.ย.60) 2. สถานศึกษานำเข้าข้อมูลนักเรียนชั้น ป.3 ผ่านระบบ NT Access (20 พ.ย.-22 ธ.ค. 60) 3. ศูนย์สอบตรวจสอบข้อมูลโรงเรียนผ่านระบบNT Access (22-31 ธ.ค. 60) โปรแกรมจะมีเมนูบอกสถานะเกี่ยวกับการตรวจสอบข้อมูลของโรงเรียน เช่น รายชื่อโรงเรียนที่ยังไม่มีข้อมูลนักเรียน รายชื่อโรงเรียนที่มีข้อมูลแต่ยังไม่ได้ตรวจสอบ รายชื่อโรงเรียนที่มีข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลแล้ว
การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ NT (ต่อ) 4. ศูนย์สอบจัดสนามสอบ ผ่านระบบ NT Access (22-31 ธ.ค. 60) 5. สถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลนักเรียนผ่านระบบ NT Access (หากสถานศึกษาพบปัญหา ต้องแจ้งให้ศูนย์สอบแก้ไขข้อมูลให้) (3-10 ม.ค. 60)
กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ การนำเข้าข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ NT (ต่อ) กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ให้โรงเรียนแต่ละแห่งที่มี นักเรียนเป็นเด็กพิเศษ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ต้องการเข้า สอบแนบหลักฐานยืนยัน สถานภาพของผู้เรียนไปยังศูนย์ สอบ ภายในวันที่ 20 ธันวาคม 2560 เพื่อทำการตรวจสอบ
การจัดส่งเอกสารประกอบการทดสอบ รอบที่ 1 (วันที่ 1-5 กุมภาพนธ์ 2561) ประกอบด้วย - คู่มือการจัดสอบ NT - คู่มือการจัดสอบ RT - เอกสารธุรการประจำสนามและห้อง สอบ รอบที่ 2 (วันที่ 12-16 กุมภาพันธ์ 2561) ประกอบด้วย - ข้อสอบการอ่าน รอบที่ 3 (วันที่ 1-5 มีนาคม 2561) ประกอบด้วย - ข้อสอบ NT - กระดาษคำตอบ NT
การรายงานผลการทดสอบ
การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 30 เมษายน 2561 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. แบบรายงานผลสอบ รายบุคคล รายสถานศึกษา รายเขตพื้นที่การศึกษา รายสังกัด ภาพรวมประเทศ
แบบรายงานผลการสอบ
แบบรายงานผลการสอบของนักเรียนรายบุคคล
แบบรายงานผลการสอบของโรงเรียน
แบบรายงานผลการสอบของศูนย์สอบ
แบบรายงานค่าสถิติพื้นฐานผลการทดสอบของสังกัดย่อย (เขตพื้นที่) (Local02) (ไฟล์ .pdf)
แบบรายงานผลการทดสอบจำแนกรายโรงเรียน ในแต่ละด้าน (Local03) (ไฟล์ .xls)
แบบรายงานผลการทดสอบจำแนกรายโรงเรียน ในแต่ละตัวชี้วัด (Local04) (ไฟล์ .xls)
แบบรายงานจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบถูกรายข้อ (Local05) (ไฟล์ .pdf)
แบบรายงานจำนวนนักเรียนจำแนกตามช่วงคะแนนของผลสอบ (Local06) (ไฟล์ .pdf)
แบบรายงานผลการเรียงลำดับตามคะแนนค่าเฉลี่ยนักเรียน (Local07) (ไฟล์ .xls)
แบบรายงานผลการทดสอบของสังกัดย่อย (เขตพื้นที่) ย้อนหลัง 3 ปี (Local08) (ไฟล์ .pdf)
แบบรายงานผลค่าสถิติพื้นฐานจำแนกรายโรงเรียน (Local09) (ไฟล์ .xls)
การจัดสอบสำหรับ เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
หลักฐานที่ต้องแนบส่งมาเขตพื้นที่ กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ 1. ใบรับรองแพทย์/บัตรประจำตัว คนพิการ หรือ 2. รายชื่อนักเรียนเด็กพิเศษ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ดาวน์โหลดมาจากระบบบริหารจัดการ ข้อมูลโรงเรียนเรียนรวม (Special Education Technology : SET)
กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. ติดต่อสอบถาม NT กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. Phone 02-2885783, 02-2885787 Fax 02-2816236 ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 081-4324688 การบริหารจัดการสอบ NT อ.ณัฐพร พรกุณา 081-7758315 อ.ก้องเกียรติ ปิ่นกุมภีร์ 089-2195054 อ.ศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ 099-9726451 การประมวลผลและรายงานผล (NT Access) อ.วิทยา บัวภารังษี 081-6606326 อ.ประจักษ์ คชกูล 085-6865764 อ.มีนา จีนารักษ์ 081-7296913