บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Lecture 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในวิชาเศรษฐศาสตร์
Production and Cost.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
การผลิตและต้นทุนการผลิต
Integrated Marketing Communication
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ทฤษฎีการผลิต.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
Foundations of Economic Thinking:
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
Flexible Budgeting and
การวิเคราะห์งบการเงิน
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทนำ 1 ความหมายของการตลาด แนวความคิดหลักทางการตลาด
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนงานครอบครัวอบอุ่น
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
การผลิตและการจัดการการผลิต
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
(เครื่องมือทางการบริหาร)
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
Warehouse Management Systems
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ประวัติการศึกษาไทย หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)

ความสำคัญของทฤษฎีการผลิต Demand = พฤติกรรมผู้บริโภค Supply = พฤติกรรมผู้ผลิต ดุลยภาพ Maximize Profit ราคาขาย - ต้นทุน

ความหมายการผลิตและผู้ผลิต การดำเนินกิจกรรมต่างๆ สินค้า ที่มนุษย์ต้องการ ไม่จำเป็นต้องมีโรงงานหรือสินค้าเกิดใหม่ ผู้ผลิต = ผู้ขาย = หน่วยธุรกิจ หมายถึง ผู้ที่ก่อให้เกิดมีสินค้าหรือบริการที่สามารถนำมาบำบัดความต้องการของผู้บริโภคได้ สำหรับหน่วยธุรกิจทั้งหมดที่ผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน เรียกว่า อุตสาหกรรม (industry) ตัวอย่าง อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมอาหาร

ทฤษฎีการผลิตและฟังก์ชันการผลิต เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิต (input) และผลผลิตที่ได้รับ (output) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปแบบฟังก์ชันได้ดังนี้ เมื่อ Q = จำนวนผลผลิต x, y, z = ปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ Q = f (x, y, z,…)

ปัจจัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร์ (Factor of Production) ประเภท ของปัจจัยการผลิต ผลตอบแทน ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent) แรงงาน (Labor) ค่าจ้าง (Wage) ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) กำไร (Profit)

ประสิทธิภาพของการผลิต ประสิทธิภาพทางเทคนิค (technical efficiency) หมายถึง วิธีการผลิตที่ให้ผลผลิตจำนวนเท่ากัน แต่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด หรือวิธีการที่ใช้จำนวนปัจจัยการผลิตเท่ากันแต่ให้ผลผลิตมากกว่า ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic efficiency) หมายถึง วิธีการผลิตที่ให้ผลผลิตจำนวนเท่ากัน แต่มีต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด การผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค ไม่จำเป็นต้องเป็นการผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ แต่การผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจต้องเป็นการผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคเสมอ

ตัวอย่างการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการผลิต วิธีการผลิต จำนวนปัจจัยการผลิต ต้นทุนการผลิต เครื่องจักร แรงงาน รวม A 5 20 5,000 2,000 7,000 B 3 50 3,000 8,000 C 55 5,500 8,500 สมมติให้วิธีการผลิตทั้ง 3 ให้ผลผลิตเท่ากัน วิธีการผลิต A และ B เป็นวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค วิธีการผลิต A เป็นวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ

ปัจจัยการผลิตกับระยะเวลาในการผลิต Q = f (x, y, z,…) ปัจจัยคงที่ (Fixed factor) เป็นปัจจัยการผลิตที่ไม่ผันแปรตามปริมาณผลผลิตได้ภายในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาคาร โรงงาน เครื่องจักร เป็นต้น ปัจจัยผันแปร (Variable factor) เป็นปัจจัยการผลิตที่ผันแปรตามปริมาณการผลิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ได้แก่ แรงงาน วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น

ระยะเวลาในการผลิต ปัจจัยคงที่ การผลิตระยะสั้น (short-run period) ปัจจัยผันแปร Q = f (K,L) ปัจจัยผันแปร ปัจจัยคงที่

ระยะเวลาในการผลิต (ต่อ) ปัจจัยคงที่ การผลิตระยะยาว (long-run period) ปัจจัยผันแปร Q = f (L) ปัจจัยผันแปร

ระยะเวลาในการผลิต การผลิตระยะสั้น (short-run period) หมายถึง ระยะเวลาที่ ปัจจัยการผลิตบางตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ จึงถือว่าเป็นปัจจัยคงที่ การเปลี่ยนแปลงของขนาดผลผลิตทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงขนาดของการใช้ปัจจัยผันแปรเท่านั้น ปัจจัยการผลิตบางชนิดเปลี่ยนแปลงได้ เราเรียกว่า ปัจจัยผันแปร ปัจจัยการผลิตบางชนิดเปลี่ยนแปลงไม่ได้ เราเรียกว่า ปัจจัยคงที่ การผลิตระยะยาว (long-run period) หมายถึง ระยะเวลาที่ปัจจัยการผลิตทุกตัวสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อหน่วยผลิตต้องการเปลี่ยนแปลงขนาดของการผลิต มีเฉพาะปัจจัยผันแปรเท่านั้น

การวิเคราะห์การผลิตระยะสั้น

ผลผลิตต่างๆ ผลผลิตทั้งหมด (Total Product : TP) หมายถึง ผลผลิตทั้งหมดที่ได้รับจากการใช้ปัจจัยผันแปรผันจำนวนต่างๆ ร่วมกับปัจจัยคงที่ที่มีอยู่ ค่าผลผลิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้นในตอนแรก และเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงในระยะต่อมา และในที่สุดจะลดลง ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) หมายถึง ผลผลิตเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของปัจจัยผันแปรที่ใช้ในการผลิต ค่าผลผลิตเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นในตอนแรก เมื่อเพิ่มการใช้ปัจจัยผันแปรไปจนถึงระดับหนึ่งค่าผลผลิตเฉลี่ยจะลดลง

ผลผลิตต่างๆ (ต่อ) ผลผลิตหน่วยสุดท้าย (Marginal Product : MPL) หมายถึง ผลผลิตที่เกิดจากปัจจัยผันแปรหน่วยสุดท้ายที่ใช้อยู่ในขณะนั้น ค่าผลผลิตหน่วยสุดท้าย จะเพิ่มสูงขึ้นในระยะแรก และลดลงในช่วงต่อมาจนมีค่าเป็นศูนย์ และอาจติดลบได้ในที่สุด ความสัมพันธ์ ระหว่าง TP & AP & MPL TP = SMPL APL = TPL/L MPL = TPL – TPL-1 = ΔTP/ ΔL

ตารางผลผลิต เครื่องจักร แรงงาน (คน) TPL 1 10 2 24 3 39 4 52 5 61 6 66 10 2 24 3 39 4 52 5 61 6 66 7 8 64

ตารางผลผลิต เครื่องจักร แรงงาน (คน) TPL APL 1 10 2 24 12 3 39 13 4 52 10 2 24 12 3 39 13 4 52 5 61 12.2 6 66 11 7 9.4 8 64

ตารางผลผลิต เครื่องจักร แรงงาน (คน) 1 2 3 TPL APL MPL 1 10 2 24 12 14 10 2 24 12 14 3 39 13 15 4 52 5 61 12.2 9 6 66 11 7 9.4 8 64 -2 1 2 3

กฎการลดลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns) เมื่อผู้ผลิตเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งแต่เพียงชนิดเดียวมากขึ้นเรื่อยๆ (จากข้อมูลในตารางคือ คน) เพื่อใช้ร่วมกับปัจจัยการผลิตชนิดอื่นที่มีจำนวนคงที่ (จากข้อมูลในตารางคือ เครื่องจักร) ผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน (MPL) จะเพิ่มขึ้นในตอนแรกในระยะที่ 1 (Increasing Returns) แต่ในระยะต่อมาจะลดลง (Diminishing Returns) จนกระทั่งมีค่าเป็นศูนย์ และติดลบได้ในที่สุด (Decreasing Returns)

1 2 3

สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง TP & MPL ช่วงที่ MPL เพิ่มขึ้น TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น (Increasing Returns) ช่วงที่ MPL ลดลง (MPL >0) TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง (Diminishing Returns) เมื่อ MPL มีค่าติดลบ TP จะลดลง (Decreasing Returns) ดังนั้น TP จะมีค่าสูงสุด เมื่อ MPL มีค่าเท่ากับ 0

สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง MPL & APL ช่วง APL เพิ่มขึ้น MPL จะเพิ่มหรือลดก็ได้ แต่จะต้องมีค่ามากกว่า APL ช่วง APL ลดลง MPL จะต้องมีค่าน้อยกว่า APL ดังนั้น MPL จะตัดกับ APL ณ จุดที่ APL มีค่าสูงสุด

การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว

ประเด็นที่ศึกษา เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve) เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Curve) ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิตที่ให้ต้นทุนต่ำสุด เส้นแนวทางการผลิต กฎผลได้ต่อขนาด

เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve) หมายถึง เส้นที่แสดงส่วนประกอบต่างๆ ของปัจจัยการผลิตสองชนิด (K,L) ที่ให้ผลผลิต (Q) จำนวนเท่ากัน นั่นคือ ทุกๆ จุดบนเส้นผลผลิตเท่ากันจะให้ได้ผลผลิตในจำนวนเดียวกัน ลักษณะของเส้นผลผลิตเท่ากัน เป็นเส้นที่มีลักษณะต่อเนื่องลาดลงจากซ้ายไปขวา อันเป็นผลมาจากการทดแทนกันของปัจจัยการผลิต 2 ชนิด เส้นผลผลิตเท่ากันจะเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด เส้นผลผลิตเท่ากันจะไม่ตัดกัน เส้นที่อยู่สูงกว่าจะแสดงผลผลิตจำนวนมากกว่า

อัตราการทดแทนทางเทคนิคหน่วยสุดท้าย Marginal Rate of technical Substitution: MRTS ในการผลิตระยะยาว ปัจจัยการผลิตทุกชนิดเป็นปัจจัยผันแปร ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงผลผลิต (Q) ย่อมมาจากการเปลี่ยนแปลงในปริมาณของปัจจัยการผลิตทุกชนิด (ทั้ง K และ L) MPK , MPL เมื่อ MPK เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วยแล้ว MPL จะต้องเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด เพื่อทำให้ระดับผลผลิตไม่เปลี่ยนแปลง (ได้ Q จำนวนเท่าเดิม) MRTSLK = -2 หมายถึง ถ้าจะลดเครื่องจักร (K) ลง 2 เครื่อง จะต้องใช้แรงงาน (L) เพิ่มขึ้น 1 คน เพื่อรักษาระดับผลผลิต (Q) ให้เท่าเดิม

ลักษณะของเส้น Isoquant เป็นเส้นโค้งเว้า เข้าหาจุดกำเนิด และมีความชันเป็นลบ Iq K 30 50 22 15 10 20 40 A B C D L  K และ L  K จากจุด A มายังจุด B Δ K = 30 – 50 = -20 Δ L = 20 – 10 = 10 Δ K / Δ L = -20/10 = -2 MPK = Δ TP/ Δ K MPL = Δ TP/ Δ L ทุกจุดบนเส้น Iq เดียวกันปริมาณผลผลิตจะเท่ากัน ดังนั้น MPK * ΔK = -MPL * ΔL L

ลักษณะของเส้น Isoquant เป็นเส้นโค้งเว้า เข้าหาจุดกำเนิด และมีความชันเป็นลบ (ต่อ) MRTSK L = - L K

เส้น Iq จะไม่ตัดกัน ทุกจุดที่อยู่บนเส้น Iq เดียวกัน จะได้รับความพึงพอใจเท่ากัน A = B A = C B > C เป็นไปไม่ได้ K A Iq1 B Iq0 C L

เส้น Iq มีได้หลายเส้น Iq3 > Iq2 > Iq1 K Iq3=90 Iq2=75 Iq1=55 L

เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Curve) หมายถึง เส้นที่แสดงส่วนประกอบต่างๆ ของปัจจัยการผลิตสองชนิด (K,L) ที่ผู้ผลิตสามารถซื้อได้ด้วยเงินจำนวนเท่ากัน ยกตัวอย่างเช่น มีงบประมาณ 1,000 บาท K ราคาหน่วยละ 200 บาท L ราคาหน่วยละ 100 บาท จำนวน K จำนวน L 5 4 2 3 6 1 8 10

เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Curve) สมการต้นทุน Slope = K C/PK ISOCOST ความชันของเส้นต้นทุน Slope = - (C/PK) / (C/ PL) ความชัน = -(w/r) L C/PL

การเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากัน การเปลี่ยนแปลงของเงินทุน เงินทุนเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงของต้นทุนอันเนื่องมาจากราคาของปัจจัยการผลิตเปลี่ยนแปลง ราคาต้นทุนปัจจัย L ลดลง K K C*/PK C/PK L IC1 IC2 C/PL C*/PL C/PL*

ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิตที่ให้ต้นทุนต่ำสุด หรือจุดดุลยภาพของการผลิต Iq1 K L A C B Isocost1 Isocost2 Isocost3 จุด A : ได้รับผลผลิตเท่ากับ Iq1 จุด B : ได้รับผลผลิตเท่ากับ Iq1 จุด C : ได้รับผลผลิตเท่ากับ Iq1 จุด A ใช้ต้นทุนต่ำที่สุด

ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิตที่ให้ต้นทุนต่ำสุด (ต่อ) ดุลยภาพของผู้ผลิต คือ จุด E ณ จุด E slope Isoquant = slope Isocost MPL = PL MPK PK MPL = MPK W r K C/PK E KE Iq L LE C/PL

เส้นแนวทางการผลิต (expansion path) การเปลี่ยนแปลงของเป้าหมายการผลิต K เส้นแนวทางการผลิตระยะยาว K Iq2 (ต้นทุนต่อหน่วยสูงกว่า) Iq1 L C1 C2

การเปลี่ยนแปลงของราคาปัจจัยการผลิต K L B A ราคาของแรงงานแพงขึ้น เมื่อผู้ผลิตไม่สามารถขยายเงินทุนได้ในระยะสั้นจำเป็นต้องลดปริมาณการผลิต C*/PK *การขึ้นค่าแรงโดยไม่สมเหตุสมผลจะนำไปสู่การว่างงานที่มากขึ้น C/PK Z K ไม่สัมผัสกันสื่อถึงไม่ใช่จุดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ Iq1 Iq3 C/PL* C*/PL* C/PL

กฎผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale) จะเปรียบเทียบระหว่าง: อัตราของผลผลิตที่ได้รับ (Output) อัตราการใช้ปัจจัยการผลิต (Input)ทั้งสองชนิด

กฎผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale) ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น (increasing return to scale) อัตราการเพิ่มขึ้นของผลผลิตมากกว่าอัตราการเพิ่มของปัจจัยการผลิต มักเกิดขึ้นในระยะแรก ๆ ของการขยายการผลิต ผลได้ต่อขนาดคงที่ (constant return to scale) อัตราการเพิ่มขึ้นของผลผลิตเท่ากับอัตราการเพิ่มของปัจจัยการผลิต มักเกิดขึ้นในระยะกลาง ๆ ของการขยายการผลิต ผลได้ต่อขนาดลดลง (decreasing return to scale) อัตราการเพิ่มขึ้นของผลผลิตน้อยกว่าอัตราการเพิ่มของปัจจัยการผลิต มักเกิดขึ้นในระยะหลัง ๆ ของการขยายการผลิต

ผลได้ต่อขนาด (Returns to Scale) K 10 8 6 Iq = 35 Iq =30 4 Iq = 25 Iq = 26 Iq =20 2 Iq = 15 Iq = 10 L 5 10 15 20 25

การประหยัดต่อขนาด และการไม่ประหยัดต่อขนาด การประหยัดต่อขนาด หมายถึง ต้นทุนต่อหน่วย (ต้นทุนเฉลี่ย) ลดลง จากการที่ธุรกิจขยายขนาดการผลิต การไม่ประหยัดต่อขนาด หมายถึง ต้นทุนต่อหน่วย (ต้นทุนเฉลี่ย) เพิ่มขึ้น จากการที่ธุรกิจขยายขนาดการผลิต นั่นคือ ขยายขนาดการผลิตมากเกินไป

การประหยัดต่อขนาด (economies of scale) การประหยัดทางด้านแรงงาน เกิดการแบ่งงานกันทำ มีความชำนาญเฉพาะอย่าง ทำให้ประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้น การประหยัดทางด้านเทคนิค เกิดขึ้นเมื่อหน่วยธุรกิจมีขนาดใหญ่ และมีความสามารถที่จะนำเอาเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพสูงมาใช้ การประหยัดทางด้านการจัดการ เป็นผลจากการกระจายต้นทุนคงที่ เช่น เงินเดือนผู้จัดการ ค่าเช่าสถานที่ ค่าเบี้ยประกัน เป็นต้น หากหน่วยธุรกิจสามารถขยายการผลิตได้มากขึ้น ต้นทุนคงที่ต่อหน่วยจะลดลง

การประหยัดต่อขนาด (ต่อ) การประหยัดทางด้านการตลาด ซื้อวัตถุดิบ : การซื้อเป็นจำนวนมากๆ จะได้รับส่วนลด ทำให้ต้นทุนลดลง ขายสินค้า : ต้นทุนค่าขนส่งลดลง ค่าโฆษณาลดลง คือ หน่วยธุรกิจที่มีขนาดใหญ่ แม้จะมีต้นทุนในการขายสูง แต่ก็จะสามารถทำให้ขายได้มากขึ้น ต้นทุนเฉลี่ยจะลดลง การประหยัดทางด้านการเงิน เนื่องจากกิจการขนาดใหญ่ จะเป็นที่เชื่อถือในวงการธุรกิจ ได้รับเครดิตในการซื้อสินค้า และสามารถกู้เงินได้ง่าย เสียดอกเบี้ยต่ำ

การไม่ประหยัดต่อขนาด (diseconomies of scale) ความยุ่งยากในการบริหารงาน ปัญหาการดูแลไม่ทั่วถึง ปัญหาการติดต่อประสานงาน ปัญหาทางด้านการจัดการแรงงาน การขาดแคลนปัจจัยการผลิต

การประหยัดภายใน และการไม่ประหยัดภายใน การประหยัดภายใน (internal economies) หมายถึง การประหยัด (ต้นทุนเฉลี่ยลดลง) ที่เกิดจากการดำเนินการของธุรกิจ(นโยบายการบริหารงาน) การไม่ประหยัดภายใน (internal diseconomies) หมายถึง การไม่ประหยัด (ต้นทุนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น) ที่เกิดจากการดำเนินการของธุรกิจ

โดยสรุป วัตถุประสงค์ของการศึกษาบทนี้คือ ต้องการทราบปริมาณการผลติที่เหมาะสม: หากปริมาณการผลติเท่ากัน ต้องเลือกทางเลือกที่ให้ต้นทุนต่ำสุด หากต้นทุนเท่ากัน ต้องเลือกทางเลือกที่ให้ผลผลิตมากกว่า ความหมายของการผลิต ฟังก์ชันการผลิต, ประสิทธิภาพของการผลิตทั้งทางเทคนิคและทางเศรษฐกิจ การผลิตระยะสั้น TP, MP, AP ลักษณะผลผลิตที่ได้รับในแต่ละช่วงการผลิต

โดยสรุป (ต่อ) การผลิตระยะยาว กฎผลได้ต่อขนาดและการประหยัดต่อขนาด เส้นผลผลิตเท่ากัน: MRTSLK เส้นต้นทุนเท่ากัน จุดการผลิตที่เหมาะสม กฎผลได้ต่อขนาดและการประหยัดต่อขนาด