Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้) เน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยการเชื่อมโยงระหว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง Respondent Behavior (สิ่งเร้าทำให้เกิดการเรียนรู้) ทฤษฎี Operant Conditioning Theary พฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค สกินเนอร์ ธอร์รไดค์ เรียนรู้แบบลองผิดลองถูก การเสริมแรง พาฟลอฟ ทำให้สุนัขน้ำลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง ทดลองกับสัตว์ กฎแห่งการเรียนรู้ การเสริมแรงทางบวกเช่น การให้รางวัล การเสริมแรงทางลบเช่น การติเตียน ใช้เสียงดังคู่กับหนุขาว ทำให้อัลเบิร์ตกลัวหนูขาว วัตสัน ทดลองกับมนุษย์ ใช้แม่อุ้มคู่กับหนูขาว แก้ความกลัวหนูขาวของอัลเบิร์ต กฎแห่งความพร้อม กฎแห่งการฝึกหัด กฎแห่งผล กฎแห่งการใช้
ทฤษฎีกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ( Cognitive Theories ) ให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ “ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ความเข้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด (Cognitive Process) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล ทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับความคิดของตัวเอง (Meta Cognitive) ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของ Piaget ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์ ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing)
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญา ของเพียรเจต์ มนุษย์ทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การซึมซาบหรือดูดซึม การจัดและ รวบรวมข้อมูล การปรับตัว การปรับโครงสร้างทางปัญญา Sensorimotor Preperational ขั้นพัฒนาการเชาวน์ปัญญา Concrete Operations Formal Operations
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบบรูเนอร์ เน้นที่พัฒนาการเกี่ยวกับความสามารถในการรับรู้และความเข้าใจของผู้เรียน โดยนำหลักการพัฒนาทางสติปัญญาของเพียเจต์ มาเป็นพื้นฐานในการพัฒนาของตนเอง บรูเนอร์ เชื่อว่า ครูสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมได้ โดยไม่ต้องรอเวลา ซึ่งสามารถที่จะสอนได้ในทุกช่วงของอายุ ขั้นตอนพัฒนาการทางปัญญาของบรูเนอร์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ Iconic representation Symbolic representation Enactive representation
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล Advance organizer เป็นเทคนิคที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างมีความหมายจากการสอน หรือบรรยายของครู การเรียนรู้อย่างมีความหมาย ( Mearningful learning) ประเภทของการเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย Deriveration Subsumption เป็นการเชื่อมโยงสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่ กับหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่เคยเรียนมาแล้ว โดยการได้รับข้อมูลมาเพิ่ม การเรียนรู้โดยการรับ Subordinate learning การเรียนรู้โดยการอนุมาน Superordinate learning Correlative subsumption เป็นการเรียนรู้ที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสร้างทางสติปัญญาที่มีมาก่อน ให้สัมพันธ์กับสิ่งที่จะเรียนรู้ใหม่ การเรียนรู้หลักการ กฎเกณฑ์ต่างๆ Combinatorial learning
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ สิ่งแวดล้อม สิ่งเร้า 1 เครื่องรับ หรือ สิ่งที่ใช้รับข้อมูล (ตา หู หรือ สัมผัสอื่นๆ) ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) มุ่งเน้นที่จะศึกษาในเรื่องต่อไปนี้ คือ 2. กระบวนการ * การมองเห็น * การฟัง * การสัมผัส .........อื่นๆ ความใส่ใจ (attention) กลยุทธ์การเรียนรู้ (learningstrategies) ขั้นตอนหลักการประมวลสารสนเทศของมนุษย์ 4. ความจำระยะยาว ภาษา(sementic) เหตุการณ์(episodic) การเคลื่อนไหว(motoric) อารมณ์ความรู้สึก(affective) 3. ความจำระยะสั้น (ความจำช่วงระยะทำงาน) พื้นฐานความรู้(knowledge base) เครื่องก่อให้เกิดพฤติกรรม การเคลื่อนไหว หรือ การพูด ความรู้เกี่ยวกับการรู้คิดของตนเอง (metacognition) พฤติกรรมการเคลื่อนไหว หรือ การพูด สิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ความรู้เกิดจากประสบการณ์และกระบวนการ ในการสร้างความรู้หรือเกิดจากการกระทำ คือการสร้างความรู้ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่ แทนความรู้นความจำในระยะทำงานอย่างตื่นตัว พื้นฐานการออกแบบการสอน ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้ Social constructivism Cognitive constructivism แนวคิดทฤษฎี วัฒนธรรมภาษาจะเป็นเครื่องมือทางปัญญา ที่จะเป็นสำหรับการสร้างความรู้ แนวคิดของ Vygotsky แนวคิดของเพียเจต์ บริบทการเรียนรู้ทางสังคม บริบทการเรียนรู้ทางสังคม มนุษย์เรามีระดับพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา ที่สามารถเรียนรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเอง การออกแบบการสอน การออกแบบการสอน การออกแบบการสอน บริบทการเรียนรู้ทางสังคม
1.นางสาวชุติมา อินทวงค์ 493050040-3 2.นางสาวทัศนีย์ ทองโสม 493050044-5 จัดทำโดย 1.นางสาวชุติมา อินทวงค์ 493050040-3 2.นางสาวทัศนีย์ ทองโสม 493050044-5 3.นางสาวปิยภรณ์ ศิริมา 493050370-2 คณิตศาสตรศึกษา ปีการศึกษา 2551