7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
ปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ Artificial Intelligence and Expert System ระบบความฉลาด (Intelligence System) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ พยายามลอกเลียนภูมิปัญญาของมนุษย์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การออกแบบและเทคโนโลยี
สื่อประสมเบื้องต้น.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  MFS2101 การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การออกแบบ UI เพื่อนำข้อมูลเข้า  
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Integrated Information Technology
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Information System MIS.
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
13 October 2007
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ITM 4302 การออกแบบส่วนเชื่อมต่อประสานกับผู้ใช้งาน
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

Decision Support Systems 13 July 2002 บทที่ 5 ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System) Decision Support Systems Email:wichai@buu.ac.th

สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface) เนื่องจากพื้นฐานการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้นั้นไม่เท่ากัน หากผู้ใช้ที่มี พื้นฐานในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สูง และยิ่งเข้าใจในหลักการทำงานด้วย แล้ว จะทำให้การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีประสิทธิภาพและ ศักยภาพสูงสุด ดังนั้น นักพัฒนาจึงได้เล็งเห็นความสำคัญตรงจุดนี้เป็นอย่างมาก ด้วยการพยายาม ออกแบบระบบสื่อประสานกับผู้ใช้ ให้สามารถติดต่อสื่อสารกับระบบงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

เนื้อหา ความหมายของสื่อประสานกับผู้ใช้ องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System: UIMS) การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การออกแบบการจัดวางและการแสดงผล (Layout and Display Design) รูปแบบอื่น ๆ ของสื่อประสานกับผู้ใช้ ระบบสารสนเทศภูมิภาค (Geographic Information System: GIS) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ความหมายของสื่อประสานกับผู้ใช้ “สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface)” หมายถึง สื่อกลางในการติดต่อและโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อทางด้านฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ User Interface Command Line Graphic User Interface (GUI) Natural Language รูปแสดงส่วนประกอบของสื่อกลางในการติดต่อและโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

สื่อประสานกับผู้ใช้ เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถมากขึ้น ทำให้นักพัฒนามีเครื่องมือในการสร้างสื่อประสานได้ง่าย และสวยงามมากขึ้น ด้วยรูปแบบที่เรียกว่า “สื่อประสานแบบกราฟฟิก” (Graphical User Interface :GUI) เช่น เมนูคำสั่ง แบบฟอร์ม การถาม-ตอบ เป็นต้น รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ มีสีสันสวยงาม มีการใช้งานที่ง่ายดายมากขึ้น และที่สำคัญคือ ผู้ใช้สามารถประสาน ติดต่อ หรือโต้ตอบกับระบบได้ด้วยการใช้เสียงพูด (Natural Language) หรือนิ้วสัมผัส ที่นับว่าเป็นการอำนวยความสะดวกมากยิ่งขึ้น 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ Task Knowledge Presentation Language Interpret the display Generate the display Application Process Process the content Interpret the user input Plan and take action Action Language System 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ : User องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม ผู้ใช้ และกลุ่มระบบคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบในกลุ่มของผู้ใช้ระบบ 1. องค์ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้ของผู้ใช้ระบบ ที่จะต้องมีหรือจะต้องรู้ไม่ว่าจะเป็นความรู้เรื่องใด ๆ ก็ตามที่จะ นำมาใช้เพื่อติดต่อกันระบบคอมพิวเตอร์ องค์ความรู้นั้นอาจเกิด จากความเชี่ยวชาญของผู้ใช้ระบบเองหรืออาจเกิดจากการเรียนรู้ จากแหล่งอื่นก็ได้ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ : User 2. ภาษาการกระทำ (Action Language) การกระทำดังกล่าวจะต้องเป็น การกระทำที่ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจ ดังนั้นจึงต้องมี “ภาษาแสดงการกระทำ” ซึ่งหมายถึง ภาษาที่ใช้สร้างรูปแบบการส่งผ่านคำสั่งที่จะนำเข้าไปประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ หรือกล่าวง่าย ๆ ก็คือ “รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode/Style)” นั่นเอง 3. ปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ใช้ (User’s Reaction) เป็นปฏิกิริยาซึ่งเกิดขึ้น หลังจากผู้ใช้ได้รับผลลัพธ์จากระบบ ปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ใช้จะนำเข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์อีกครั้ง เพื่อประมวลผลคำสั่งด้วยภาษาที่ทำให้เกิดการกระทำ ต่อไป 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ องค์ประกอบในกลุ่มของระบบคอมพิวเตอร์ 1. บทโต้ตอบ (Dialog) หรือ “บทสนทนา” ที่ใช้โต้ตอบและติดต่อกับ ผู้ใช้ระบบที่คอมพิวเตอร์ได้เตรียมไว้ ซึ่งอาจเป็นชุดข้อมูลหรือชุดคำสั่งก็ได้ 2. การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ (Computer Processing) จะทำ หน้าที่แปลคำสั่งที่ผู้ใช้ป้อนผ่านมาทาง Action Language แล้วปฏิบัติตาม คำสั่ง จากนั้นก็สร้างผลลัพธ์ขึ้นเพื่อจะนำไปเสนอต่อไป 3. ภาษาการนำเสนอ (Presentation Language) เป็นภาษาที่ระบบ คอมพิวเตอร์ใช้เพื่อแสดงผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ระบบได้รับทราบ การแสดง ผลลัพธ์เป็นแบบข้อความ รูปภาพ กราฟ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพ สามมิติ แสง สี เสียง 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Management System: UIMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ในการจัดการสื่อประสาน ที่จะนำเสนอผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ไปยังผู้ใช้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม โดยจะติดต่อกับระบบจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานแบบจำลอง และระบบจัดการฐานองค์ความรู้ เพื่อนำข้อมูลที่ประมวลผลได้ตามคำสั่งของผู้ใช้มาแสดงผล 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ความสามารถของระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ 1. สามารถรองรับเทคโนโลยีด้านกราฟิกของสื่อประสานกับผู้ใช้ (Graphic User Interfaces) เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ง่ายยิ่งขึ้น 2. สามารถรองรับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) ได้หลายประเภท ซึ่งช่วยให้สามารถนำข้มอูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ 3. สามารถรองรับการแสดงผลในลักษณะกราฟิก 3 มิติ ที่มีสีสันสวยงามได้ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ความสามารถของระบบจัดการสื่อประสานกับผู้ใช้ 4. สามารถแสดงข้อมูลพร้อมกันหลายหน้าต่างและหลายรูปแบบได้ 5. ผู้ใช้สามารถปรับแต่งหน้าตาของระบบสื่อประสานกับผู้ใช้ ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ได้เสมอ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ลักษณะที่ดีของสื่อประสานกับผู้ใช้ ลักษณะที่ดีของสื่อประสานกับผู้ใช้ ควรเป็นอย่างไร 1. 2. 3. 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) การสร้างสื่อประสานกับผู้ใช้ให้มีคุณภาพ และประสบความสำเร็จ ผู้สร้างมักต้องพบกับความซับซ้อนของปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ความซับซ้อนของเทคโนโลยี ความซับซ้อนทางด้านจิตวิทยา ความซับซ้อนทางด้านฟิสิกส์ และความซับซ้อนของปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ อีกมากมาย ผู้ออกแบบควรคำนึงถึงและพิจารณาถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. คำนึงถึงขณะที่ผู้ใช้กำลังปฏิบัติงานจริงกับระบบ 2. คำนึงถึงเวลาที่ใช้ในการเรียนรู้การใช้ระบบ 3. คำนึงถึงความสามารถรอบด้านที่ต้องปรับให้เข้ากับระบบอื่น ๆ ด้วย 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th 16

การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) 4. คำนึงถึงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นโดยตัวผู้ใช้เอง 5. คำนึงถึงคุณภาพของเครื่องมือที่ผู้ใช้จะหยิบใช้ 6. สามารถใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ได้อย่างลงตัว โดยไม่มีปัญหาเรื่องฮาร์ดแวร์ 7. คำนึงถึงระดับความต้องการของผู้ใช้ 8. คำนึงถึงความอ่อนล้าของระบบที่เกิดจากการใช้งานติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ 9. คำนึงถึงมาตรฐานการใช้คำสั่งที่ต้องมีความเหมือนกัน และความสนุกสนานเมื่อใช้งานระบบอยู่ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th 17

การออกแบบสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Design) 10. การเลือกใช้อุปกรณ์ Input และ Output ที่ดี รวมไปถึงการออกแบบหน้าจอการทำงานให้สวยงามดูน่าใช้ 11. ลำดับขั้นตอนการใช้โปรแกรมต้องไม่ซับซ้อน และสามารถรองรับจำนวนสารสนเทศที่ผ่านเข้า – ออกได้อย่างเหมาะสม 12. พิจารณาเลือกใช้ไอคอน และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสม โดยผู้ใช้จะต้องเข้าใจรูปแบบการแสดงผลสารสนเทศได้อย่างง่ายดาย 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th 18

รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ เป็นการออกแบบจอภาพเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถโต้ตอบกับระบบได้ตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ ในปัจจุบันนิยมใช้การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้แบบกราฟิก (Graphic User Interface) ซึ่งสามารถสื่อสารกับผู้ใช้ในรูปแบบข้อความและรูปภาพต่าง ๆ ทำให้ใช้งานง่าย และเรียนรู้ได้รวดเร็ว 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) สำหรับรูปแบบการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ดังต่อไปนี้ การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การโต้ตอบด้วยคำสั่ง (Command Language Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบโดยที่ผู้ใช้จะต้องพิมพ์คำสั่งลงในช่องป้อนคำสั่ง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการทำงานในระบบ จึงเหมาะสำหรับผู้ใช้ที่มีความชำนาญในการใช้ระบบ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

รูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface Mode) การโต้ตอบด้วยเมนูคำสั่ง (Menu Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบด้วยการแสดงเมนูคำสั่งให้ผู้ใช้เลือกคำสั่งใด ๆ เพื่อติดต่อกับระบบโดยผู้ใช้ไม่ต้องป้อนคำสั่งเอง ดังนั้นจึงได้รับความนิยมในด้านของความง่ายในการใช้งานและการทำความเข้าใจ Pull-down Menu 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การโต้ตอบด้วยแบบฟอร์ม (Form Interaction) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การโต้ตอบด้วยการทำงานเชิงวัตถุ (Object-Based Interaction) เป็นการโต้ตอบกับระบบที่ใช้สัญลักษณ์ ใช้รูปภาพแทนคำสั่งทำงาน หรือเรียกว่า “ไอคอน (Icon)”

การโต้ตอบด้วยภาษามนุษย์ (Natural Language Interaction) Check E-mail You got 10 E-mail Read First E-mail E-mail From … Subject … Detail …

การออกแบบการจัดวางและการแสดงผล (Layout and Display Design) การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลแต่ละราย โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) การแสดงผลแบบมีสีและขาวดำ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ Title Zone Menu Zone Tools Zone Body Zone Message/Status Zone

การจัดจอภาพคอมพิวเตอร์ Title Zone Menu Zone Tools Zone Body Zone Message/Status Zone 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การเชื่อมโยงการป้อนข้อมูลแต่ละราย เราต้องกำหนดลำดับในการป้อนข้อมูลให้สอดคล้อง ไม่ควรกำหนดลำดับสลับไปมาโดยไม่มีนัยสำคัญ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

โครงสร้างของการป้อนข้อมูล (Structure Data Entry) การกำหนดค่าเริ่มต้น (Default) หน่วยของข้อมูล (Unit) คำอธิบายต่างๆ (Caption) รูปแบบ (Format) การจัดวาง (Justify) ส่วนช่วยเหลือ (Help) การติดต่อกับผู้ใช้ในการป้อนข้อมูลด้วยกราฟิก (Graphic User Interface : GUI) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

(Graphic User Interface : GUI) ตัวอย่างการออกแบบ Label Text box Radio Button Check box 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การตอบสนองของระบบ (Providing Feedback) ในระหว่างการใช้งานระบบของผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการป้อนข้อมูล การค้นหาข้อมูล หรือสั่งพิมพ์รายงานจากโปรแกรม นักพัฒนาระบบควรออกแบบ ให้โปรแกรมมีการตอบสนองต่อการสั่งงานดังกล่าว หรือตอบสนองต่อผู้ใช้งานเมื่อมีข้อผิดพลาดใด ๆ เกิดขึ้น เพื่อไม่ให้ผู้ใช้สับสน การตอบสนองของระบบ (System Feedback) มี 3 ชนิด  1. การแจ้งสถานะการทำงาน (Status Information) 2. การแสดงความพร้อมในการรับคำสั่ง (Prompting Cues) 3. ข้อความแจ้งเตือนเมื่อมีข้อผิดพลาด (Error/ Warning Messages) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ข้อความแจ้งเตือนหรือมีข้อผิดพลาด (Error/ Warning Messages) เราจำเป็นต้องมีการแจ้งเตือน เมื่อมีการทำงานที่ต้องการยืนยัน หรือในกรณีที่เกิดข้อผิดพลาดขึ้น เพื่อให้ผู้ใช้ได้ทราบ และทำการตัดสินใจ ผิด ถูก 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การแสดงส่วนช่วยเหลือ (Help) สามารถเข้าใจได้ง่าย (Simplicity) มีการจัดรูปแบบอย่างเป็นระเบียบ มีการแสดงตัวอย่าง (Show) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

รูปแบบอื่น ๆ ของสื่อประสานกับผู้ใช้ นอกจากรูปแบบของสื่อประสานกับผู้ใช้ที่กล่าวมาแล้ว เช่น การโต้ตอบด้วยคำสั่ง แบบฟอร์ม และ เมนู แล้วยังมีการโต้ตอบแบบอื่น ๆ ที่มีความทันสมัยมากขึ้น ช่วยสร้างความสมจริงในการใช้ระบบของผู้ใช้มากขึ้น เช่น 1. กราฟิก (Graphics) 2. มัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์ (Multimedia and Hypertext) 3. ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality System) 4. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

กราฟิก (Graphics) เป็นการนำเสนอข้อมูลหรือผลลัพธ์ด้วยรูปภาพหรืออาจเป็นรูปภาพผสมข้อความ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถทราบความหมายของข้อมูลและสารสนเทศที่นำเสนอได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

มัลติมีเดียและไฮเปอร์เท็กซ์ (Multimedia and Hypertext) มัลติมีเดีย (Multimedia) มักเป็นการกล่าวถึงประโยชน์โดยรวมของสื่อมากมาย เช่น เสียง (Sound) ข้อความ (Text) ภาพกราฟิกต่างๆ (Graphics) รวมถึงสื่อชนิดอื่นๆ ด้วย ไฮเปอร์เท็กซ์ คือ ข้อความหรือกลุ่มของข้อความ ที่ทำหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่อข้อมูล จากเอกสารหน้าหนึ่งไปสู่เอกสารอีกหน้าหนึ่ง ซึ่งการเชื่อมโยงนี้เป็นการเชื่อมโยงไปสู่ข้อมูลอื่นๆ Hypertext 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ระบบความจริงเสมือน (Virtual Reality System) ระบบความเป็นจริงเสมือน หมายถึง ระบบที่ช่วยให้ผู้ใช้ระบบเคลื่อนไหว และมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสภาพแวดล้อม ที่ถูกจำลองขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ได้ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ เป็นการนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence AI) มาประยุกต์ใช้เพื่อให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้คำพูดภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นๆ ที่ได้รับการพัฒนา เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย เป็นต้น โดยอาจพูดผ่านอุปกรณ์ไมโครโฟน เพื่อนำสัญญาณเสียงพูดของผู้ใช้เข้าสู่ระบบประมวลผลภาษาธรรมชาติ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่มีพื้นฐานการทำงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ การจัดการกับข้อมูลที่ได้มาให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ (Capturing) การจัดเก็บ (Storing) การตรวจสอบ (Checking) การประสาน (Integrating) การจัดกระทำ (Manipulating) การแสดงผล (Display) ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือแสดงผลเป็นแผนที่ (Mapping) ได้ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

องค์ประกอบหลักของ GIS การนำเข้าข้อมูล (Data Input) การจัดการข้อมูล (Data Management) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) การแสดงผล (Data Display) 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

GIS Database ฐานข้อมูลที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บแผนที่ ฐานข้อมูลที่ใช้จัดเก็บรายละเอียด หรือสารสนเทศบนแผนที่ 7 April 200\14 E-mail:wichai@buu.ac.th

20 October 2010 wichai@buu.ac.th

คำถามท้ายบทที่ 5 1. สื่อประสานกับผู้ใช้ (User Interface) คืออะไร 2. องค์ประกอบของสื่อประสานกับผู้ใช้ มีอะไรบ้าง 3. คุณลักษณะที่ดีของสื่อประสานกับผู้ใช้เป็นอย่างไร 4. สื่อประสานกับผู้ใช้ที่มีความทันสมัย ที่จะช่วยสร้างความสมจริงในการใช้ระบบมากขึ้น ควรมีอะไรบ้าง 13 October 2007 E-mail:wichai@buu.ac.th

ส วั ส ดี 20 October 2010 wichai@buu.ac.th 27 March 2001 E-mail: wichai@bucc4.buu.ac.th