ผลการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 2. ผลการดำเนินงานประเด็นงานสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม นำเสนอในการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การติดตามประเมินผลและปรับแผนการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ระหว่างวันที่ 17 – 19 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จ.ปทุมธานี
ผลการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมภายใต้แผนงานการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ประชาชนได้รับการป้องกัน ดูแลสุขภาพ จากปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป (ร้อยละ 50) ผลผลิตระดับกระทรวง : 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. มีกลไกของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ.) 3. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน 4. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัดสธ.ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และ 5. มีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน มาตรการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลและเฝ้าระวัง พัฒนาระบบป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยง พัฒนาระบบบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ระบบบริหารจัดการ 1. พัฒนาฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับด้านสุขภาพ (ข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยทั่วไป สิ่งปฎิกูล สุขาภิบาลอาหารและน้ำ มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุข และข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม) 2. เฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ -เฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 36 จังหวัด -เฝ้าระวังในพื้นที่ทั่วไป 1. การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล 1) การจัดการมูลฝอย ติดเชื้อตามกฎหมาย 2) การพัฒนาระบบบำบัด น้ำเสีย 3) การจัดการของเสียทางการแพทย์ 2. การเสริมสร้างประสิทธิภาพจัดการสิ่งปฏิกูลของ อปท. 1. การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงโดยพัฒนางาน Env.Occ.Unit ใน รพศ. /รพท. Env.Occ.Centerใน รพช. Env.Occ.Clinic ใน รพสต. 1. การใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุขในระดับจังหวัด 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้มาตรฐาน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนตระหนักรู้และ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการจัดการปัญหาระดับพื้นที่ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ 4. การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา 5. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล กรมอ./กรมคร. กรมอ./สบรส.สป./อย. กรมอ./กรมคร./กรมพ. กรมอ./กรมคร./กรมสบส./สบรส.สป. เอาอันนี้ ดึงสีฟ้าไปไว้ข้างบน
ผลการดำเนินงานรายมาตรการ (รอบ 6 เดือน) พัฒนาระบบป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยง พัฒนาระบบข้อมูลและเฝ้าระวัง พัฒนาระบบการบริหารจัดการ พัฒนาระบบบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (คร.) ระบบข้อมูล 1. จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. จัดทำแผนที่ความเสี่ยงในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กรณีเหมืองแร่ทองคำ/ฝุ่นหน้าพระลาน 4. ผลิตชุดความรู้การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พื้นที่เสี่ยง การจัดการสิ่งปฏิกูล น้ำอุปโภคบริโภค กฎหมาย ระบบเฝ้าระวัง 1. เฝ้าระวังคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคในพื้นที่ทั่วไป/พื้นที่เสี่ยง (ชายฝั่งทะเลตะวันออก แหล่งน้ำใกล้บ่อขยะ ร.ร. กพด. เหมืองแร่ทองคำ) 2. เฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง(ฝุ่นสระบุรี/หมอกควัน/เหมืองแร่) 3. จัดทำคำแนะนำ/สื่อสารเตือนภัย/การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ เช่น จัดทำสถานการณ์เตือนภัยหมอกควันรายวันในช่วงวิกฤต ส่งเสริมให้รพ.มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 1. จัดทำฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2. ผลักดันให้มีมติคณะกรรมการสาธารณสุขเพื่อให้ อสธจ.ขับเคลื่อนการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อทั้งจังหวัด 3. ประชุมชี้แจงแนวทางการพัฒนายกระดับมาตรฐานการขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเป็นไปตามที่กฎหมาย 1. มีมติคณะกรรมการสธ. ในการกำหนดให้อสธจ.ขับเคลื่อนประเด็นงานสำคัญ เช่น การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2. การขับเคลื่อน/ผลักดันกลไก อสธจ. เพื่อจัดการแก้ไขปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 3. สนับสนุนการดำเนินงานอสธจ. 4. จัดทำแผนแม่บทการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2559 – 2564 5. จัดทำร่างมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคของประเทศ 1. อบรมหลักสูตรการพัฒนาการจัดบริการ อช.ครบวงจรให้กับหน่วยงานเครือข่าย 2. ติดตาม/สนับสนุนการจัดบริการ อช. และเวชกรรม สวล. : 18 แห่ง จาก 116 แห่ง (ร้อยละ 15.52) 3. พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยของหน่วยบริการภาคเอกชน 4. พัฒนาระบบบริการอาชีวอนามัยเน้นการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยโรคจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม
จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด ระดับดีขึ้นไป (ร้อยละ 50) ประเด็น ผลการประเมินตัวเองของจังหวัด (ร้อยละ) 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. มีกลไกการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) 3. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน 4. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย 5. จังหวัดมีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ใน 36 จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง รายงานผล 68 จ. ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 89.71
1. จังหวัดมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 86.76
2. จังหวัดมีกลไกอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ประเด็นที่อสธจ.ให้ความสำคัญ ศอ. 8 ศอ. 1 ศอ. 11 ศอ. 3 ศอ. 5 ศอ. 7 ศอ. 6 ศอ.2 ศอ. 4 ศอ. 12 ศอ. 10 2. จังหวัดมีกลไกอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ประเด็นที่อสธจ.ให้ความสำคัญ จังหวัดที่ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 1 ครั้ง (พ.ย. 58 – มี.ค. 59) จังหวัดที่ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 2 ครั้ง (ม.ค. 59 – มี.ค. 59) จังหวัดมีแผนการประชุม แต่ยังไม่จัดไม่ดำเนินการจัดประชุม - การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อ - การออกข้อกำหนดของท้องถิ่น - การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม - การจัดการเรื่องร้องเรียนและเหตุรำคาญ - การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร รณรงค์ลด ละเลิก ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 64.71
3. จังหวัดมีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 86.76
4. จังหวัดมีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อฯ ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 91.18
แผนการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 6 เดือนหลัง 1. ฐานข้อมูล/สถานการณ์/เฝ้าระวัง 2. อสธจ. ระบบข้อมูล 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. จัดทำข้อเสนอต่อการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้จังหวัดนำไปใช้ ระบบเฝ้าระวัง 1. สำรวจและเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในครัวเรือน 2. จัดทำคู่มือการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ กรณีเหมืองแร่โพแทช /โรงไฟฟ้าถ่านหิน 3. จัดทำแผนที่ความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เหมืองแร่ทองคำ 4. จัดทำข้อเสนอวิชาการในการกำหนดระยะห่างระหว่างชุมชนกับเหมืองแร่ทองคำ (Buffer Zone) 5. จัดทำคำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข (การรองรับผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน ภัยแล้ง หมอกควัน 6. จัดทำชุดความรู้ผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและประชาชน 7. จัดทำมาตรฐานเกณฑ์เตือนภัยร้อน 1. ปรับปรุงระบบการรรายงานผลการดำเนินงานอสธจ. 2. จัดทำฐานข้อมูลการดำเนินงานอสธจ. ระดับประเทศ 3. พัฒนาต้นแบบการดำเนินงานอสธจ.เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. จัดประชุม อสธจ. Forum
แผนการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 6 เดือนหลัง 3. EHA 4. มูลฝอยติดเชื้อ 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ และระบบรายงานการพัฒนาการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท 2. สุ่มประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2557-2558 /เป็นที่ปรึกษาการประเมินรับรองคุณภาพระบบบริการฯ 3. จัดประชุม EHA Forum เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้/มอบเกียรติบัตรให้แก่ อปท ที่ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับเกียรติบัตร 4. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศผ่านสื่อต่างๆ 1. ประเมินมาตรฐานบริษัทเก็บขน /กำจัดมูลฝอยติดเชื้อและมีทะเบียนรายชื่อ ฯ เพื่อให้โรงพยาบาลสามารถเลือกใช้บริการบริษัทฯ ที่ได้มาตรฐาน 2. จัดทำแนวทางการจัดการมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดจากการรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน 3. ประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดเงื่อนไขในการอนุมัติ อนุญาตการประกอบกิจการรักษาพยาบาล (รพ. คลินิกคนและสัตว์ ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย) 4. พัฒนาต้นแบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อแบบรวมศูนย์ และแบบอื่นๆ
ประเด็นงานสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงาน ประเด็นงานสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรก แผนการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง โครงการ ผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรก แผนการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง โครงการพระราชดำริ/ โครงการเฉลิมพระเกียรติ /โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์ 1. โครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (เป้าหมายปี 59 จำนวน 39 แห่ง : ปี 58-59 = 120 แห่ง) 1. ประสานหน่วยงานต้นสังกัดและโรงเรียนเป้าหมาย 2. สำรวจสภาพพื้นที่ดำเนินการ 3.ประชุมเตรียมการ ติดตามความก้าวหน้า และรายงานผล 4. จัดเวทีแถลงข่าวระดมทุนสื่อสารประชาสัมพันธ์โครงการสู่สาธารณชน 1. ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานฯ 2. จัดพิธีเปิดป้ายและส่งมอบส้วมสุขอนามัยฯ 2. พัฒนาการจัดการน้ำบริโภคในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1. พัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(รร.ตชด.,รร.พระปริยัติธรรม) - สำรวจพท.ขาดแคลนระบบการจัดการน้ำ/แหล่งน้ำบริโภคมีการปนเปื้อนหรือเสี่ยง/พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลการจัดการน้ำบริโภค/เฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค คืนข้อมูล/แนะนำ-ให้ข้อเสนอ 2. พัฒนารูปแบบระบบการจัดการน้ำบริโภคในศูนย์พัฒนาเด็กวัยเตาะแตะ -สำรวจพท. สาธิตระบบการจัดการน้ำอย่างง่าย ทดสอบการติดตั้ง/แนะนำการดูแลรักษา 3. รักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน(ลุ่มน้ำจว.ภาคเหนือตอนบน,ลุ่มน้ำหมัน จ.เลย) -ทำแผน/สำรวจแหล่งน้ำบริโภค/พฤติกรรมการบริโภค/เฝ้าระวัง คืนข้อมูล/แนะนำ ให้ข้อเสนอ 2. การถอดบทเรียน 3. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรก แผนการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง โครงการ ผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรก แผนการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง โครงการพระราชดำริ/ โครงการเฉลิมพระเกียรติ /โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์ 3. โครงการรณรงค์เนื่องในวันอนามัยสิ่งแวดล้อมไทย 4 กรกฎาคม ของทุกปี เตรียมการสำหรับการจัดกิจกรรม วันที่ 4 กรกฎาคม จัดกิจกรรมรณรงค์พร้อมกันทั่วประเทศในวันที่ 4 กรกฎาคม ประกอบด้วยกิจกรรมการกล่าวสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ/ประกาศเกียรติคุณผู้ได้รับการคัดเลือกบุคคล/องค์กรดีเด่นฯ/การมอบโล่เกียรติบัตรให้แก่หน่วยงานที่ดำเนินงานโครงการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม และดำเนินกิจกรรมที่รัฐบาลเห็นสมควร คือ Big Cleaning Day พร้อมกันทั่วประเทศ 4. โครงการแก้ไขปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ (บูรณาการดำเนินงานร่วมกับกรมควบคุมโรค) 1. จัดทำฐานข้อมูลการจัดการสิ่งปฏิกูล 2. ส่งเสริมให้เทศบาลมีการควบคุมการจัดการสิ่งปฏิกูล 3. ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมาย/สร้างต้นแบบการจัดการสิ่งปฏิกูล 1. อบรมให้ความรู้การจัดการสิ่งปฏิกูลที่ถูกหลักสุขาภิบาลและแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องสำหรับผู้ประกอบกิจการสูบ ขนถ่ายบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลภาคเอกชน เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล 2. พัฒนาต้นแบบการจัดการสิ่งปฏิกูลอย่างถูกหลักสุขาภิบาล 3. ส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรและเทคโนโลยีการจัดการสิ่งปฏิกูลอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
โครงการ ผลการดำเนินงาน 6 เดือนแรก แผนการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง แผนบูรณาการการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (แผนบูรณาการระหว่างกระทรวง) ส่งเสริมให้สถานบริการการสาธารณสุขสังกัดสธ. (รพศ. รพท. รพช. และ รพ.สังกัดกรมวิชาการ) มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย 1. จัดทำฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2. ผลักดันให้มีมติคณะกรรมการสาธารณสุขเพื่อให้ อสธจ.ขับเคลื่อนการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อทั้งจังหวัด 3. ประชุมชี้แจงแนวทางการพัฒนายกระดับมาตรฐานการขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเป็นไปตามที่กฎหมาย 1. ตรวจประเมินเตาเผามูลฝอยติดเชื้อและบริษัทที่รับเก็บขนและกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 2. พัฒนาและปรับปรุงกฎหมายกฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (แก้ไขเพิ่มเติม) 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของประเทศไทย ผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน ตค.58-เม.ย.59 : สถานบริการการสาธารณสุข จำนวน 953 แห่ง มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย 802 แห่ง(ร้อยละ 84.15) โครงการเร่งด่วนตามนโยบายรัฐบาล องค์กรต้นแบบ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย 1. จัดทำหนังสือขอความร่วมมือหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศงดการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 2. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้นักวิชาการ “ภัยเงียบจากภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 3. จัดประชุมภาคีเครือข่ายภาครัฐ/เอกชน จำนวน 35 องค์กร 4. ลงนามความร่วมมือหน่วยงานราชการ / รัฐวิสาหกิจ / ภาคเอกชน /สถาบันการศึกษา / สถานประกอบการอุตสาหกรรม 5. เสริมสร้างให้เกิดองค์กรต้นแบบเลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 4 ภาค 1. มอบรางวัลประกาศเกียรติคุณยกย่องและเชิดชูเกียรติหน่วยงานและองค์กรต้นแบบเลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 100 % (วันที่3-4 มิ.ย.59 ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง) 2. การถอดบทเรียนและติดตามประเมินผล องค์กรต้นแบบ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย
การดำเนินการด้านสาธารณสุขรองรับผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน (Physical heat stress) ภัยแล้ง (Drought)และหมอกควัน (Haze) ผลการดำเนินงาน 6 เดือน 1. จัดทำข้อเสนอการเตรียมการด้านสาธารณสุขรองรับผลกระทบต่อสุขภาพ 2. จัดทำคำสั่ง คกก. เตรียมการและป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน ภัยแล้ง หมอกควัน (รองปลัดฯ : ปธ.) 3. ขอความร่วมมือผู้ว่าฯ ใน 9 จว. เพื่อดูแลคุ้มครองสุขภาพปชช.จากความร้อน ภัยแล้ง หมอกควัน 4. ประชุมชี้แจงนโยบายให้แก่ จนท.สธ./หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ใน 9 จว. 5. จัดทำแนวทางการแจ้งเตือนภัยความร้อน 6. จัดทำคู่มือ/ชุดความรู้ - การป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน /ภัยแล้ง /หมอกควัน - คำแนะนำการปฏิบัติตนสำหรับจนท.สธ./ปชช. 7. สื่อสารเตือนภัยผลกระทบจากหมอกควัน/ความร้อนในช่วงวิกฤตรูปแบบ อินโฟกราฟิค 8. จัดทำ (ร่าง) คำแนะนำของ คกก.สธ. เรื่อง มาตรการทางกม.สธ. เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน ภัยแล้งและหมอกควัน พ.ศ... 9. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สธฉ. /กรม คร./ กรมแพทย์/ กรมอุตุฯ /กรม คพ. เพื่อเตรียมการรองรับภัยแล้งและความร้อน แผนการดำเนินงาน 6 เดือนหลัง 1. ติดตาม สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง/สนับสนุนการดำเนินงานของพื้นที่ 2. สรุปบทเรียนการดำเนินงานในพื้นที่/จัดทำข้อเสนอแนะต่อการเตรียมการ 3. สรุปผลการดำเนินงาน เสนอแก่ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Out put : 1. ข้อเสนอฯ ต่อกลไกและแนวทางการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน ภัยแล้ง หมอกควัน 2. คำแนะนำของ คกก.สธ. เรื่อง มาตรการทางกม.สธ. เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากความร้อน ภัยแล้ง หมอกควัน
การปรับปรุงและแก้ไขกฎหมาย ผลการดำเนินงาน : แก้ไขกฎหมาย จำนวน 1 เรื่อง และ ออกกฎกระทรวง จำนวน 6 เรื่อง เรื่อง สถานะดำเนินการ ร่างพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่...) พ.ศ. ... อยู่ระหว่างการตรวจพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 1. ร่างกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียม การออกใบอนุญาตหนังสือรับรองการแจ้ง และการให้บริการเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือ มูลฝอย พ.ศ. ... 2. ร่างกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการ สิ่งปฏิกูล พ.ศ. ... ดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการเพื่อพิจารณา ร่างกฎกระทรวงฯ ที่กรมอนามัยตอบยืนยันอีกครั้ง ก่อนส่งเรื่องเพื่อขอความเห็นชอบจากรองนายกรัฐมนตรี และส่งเรื่องไปยังสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อดำเนินการต่อไป 3. ร่างกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. ... การพิจารณาร่าง ของคณะกรรมการกฤษฎีกา 4. ร่างกฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ. ... เสนอขอความเห็นชอบจากรองนายกรัฐมนตรี ก่อนส่งเรื่องไปยังสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อดำเนินการต่อไป 5. ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. ... การพิจารณาร่าง ของคณะกรรมการกฤษฎีกา 6. ร่างกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน พ.ศ. ... เตรียมการเพื่อนำเสนอต่อคณะอนุพิจารณาเพื่อกลั่นกรองกฎหมาย แก้ไข กฎหมาย 1 เรื่อง ออก กฎกระทรวง 6 เรื่อง