ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทดสอบ IQ ด้วยคำถามสั้น เพื่อความเป็นเลิศ
Advertisements

สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
สรุปปัญหาเด็กพิเศษในประเทศไทย
RECRUITMENT.
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
8.20 hrs. 2 hrs hrs. กิจกรรมใน 1 วันของคนไทย Sedentary behaviour 2 hrs hrs.
Working Group on Legal Metrology
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
1 สภาวะสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ เป็นอยู่ มีอยู่จริง ??? Ontology VS. Entity / Environment หลักแนวคิด การเข้าถึงองค์ความรู้ของ มนุษย์ เข้าถึง MIS / KB Epistemology.
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
ส่งเสริมสัญจร.
ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา. ความฉลาดทางอารมณ์ ของตัวเรา.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
นโยบาย , หลักการ และสิ่งที่อยากเห็น
ประถม เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ด้วยสื่อ นวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อดึงความสามารถทางการเรียนแต่ละด้าน ตามแนวทางพหุปัญญา โดยกระบวนการ Balanced.
โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย
เรียนรู้ผ่าน ประสบการณ์ เพิ่มพูนทักษะ จน เป็นความ รู้ฝัง แน่นในตนเอง พร้อมที่จะต่อ ยอด สู่ระดับ ประถมศึกษาได้ อย่างมั่นคง.
Impairment + time Goals =. ด้อย ( สิ่งเราชอบ ) + เวลา ความ พยายาม ความสำเร็ จ =
We Bring Networking to Your Life ™ S uperior CO mmunications R esearch and P rototyp i ng for c o mmercializatio n การประชุม SCORPion Research Group แนวทางในการทดสอบความถูกต้อง.
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
โครงการสำคัญ ปี 2556 สำนักส่งเสริมสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
การวัดและประเมินผลการศึกษา
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการป้องกันและรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม จ.เชียงใหม่
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
ชุมชนต้นแบบด้านพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
ความหมายของการสื่อสาร
ตราประจำสถาบันของท่าน (ถ้ามี)
Chapter 4 Data Pre-Processing อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การบริหารจัดการทางการศึกษา (106402)
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การสร้างบุคลิกภาพในงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
ผลการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
การส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย.
การดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
องค์ประกอบ ตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์การ ประเมิน มาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (ประเภทห้องประชุม) ฉบับปรับปรุง 2558 กลุ่มที่ 1 ศูนย์ประชุม/อาคารแสดง.
รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลัง ประจำเดือนสิงหาคม ปี 2561
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
ปิรามิด แห่งการรับรู้
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
Recruitment Trends Chayakorn lotongkum, 12 July 2016.
ตราประจำสถาบันของท่าน Results and Discussion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562 บรรยายพิเศษ ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ประเด็นตำบล มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน กับโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562

แผนปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน + 2 ด้าน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ การปฏิรูปประเทศ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสบนความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 23 ประเด็น 1) ความมั่นคง 2) การต่างประเทศ 3) การพัฒนาการเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) การพัฒนาพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล 8) การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 9) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม 11) การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี 14) ศักยภาพการกีฬา 15) การเสริมสร้างพลังทางสังคม 16) การพัฒนาความเสมอภาคและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 17) การสร้างหลักประกันทางสังคม (18) การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน (19) การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ (20) การพัฒนาบริการประชาชน และการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐ (21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (22) การพัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (23) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ประเด็นการพัฒนาเร่งด่วนในช่วงระยะ 5 ปีแรก ของยุทธศาสตร์ชาติใน 15 ประเด็น แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) การแก้ไขปัญหาพื้นฐานของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทย มีความเข้มแข็ง ในเชิงโครงสร้างและการบริหารจัดการ รวมทั้ง สามารถต่อยอดการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ต่อไปได้ จำนวน 5 ประเด็น 1) ตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 2) แก้ไขปัญหาความมั่นคงเร่งด่วน 3) แก้ปัญหาทุจริต 4) บริหารจัดการมลพิษ 5) การทำงานภาครัฐ (2) การดูแลยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เพื่อให้ประชาชน มีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในด้านต่าง ๆ มีความพอเพียง และสามารถพึ่งพาตนเองได้ จำนวน 6 ประเด็น 6) สภาพแวดล้อมรัฐ 7) สังคมสูงวัย 8) คนและการศึกษา 9) เศรษฐกิจฐานราก 10) บริการสาธารณสุข 11) กระจายศูนย์กลางความเจริญ (3) การรองรับการเจริญเติบโตอย่างเป็นระบบและยั่งยืน เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและพื้นที่เศรษฐกิจเป้าหมายอย่างเป็นระบบ ดึงดูดและรองรับการเจริญเติบโตให้กับประเทศ จำนวน 2 ประเด็น 12) EEC+SEC 13) การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ (4) การสร้างรายได้ให้กับประเทศ เพื่อขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจที่สำคัญบนฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน จำนวน 2 ประเด็น 14) การท่องเที่ยว 15) อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ ประเด็นการพัฒนาเร่งด่วนในช่วงระยะ 5 ปีแรก ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ 1. ตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (ศธ.เป็นหน่วยงานสนับสนุน) โครงการบูรณาการตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในประเด็น เศรษฐกิจฐานรากความมั่นคงปลอดภัย ความสามัคคีปรองดอง และการบริหารพื้นที่อย่างยั่งยืน 2. แก้ไขปัญหาความมั่นคงเร่งด่วน (ศธ.เป็น หน่วยงานหลัก) โครงการส่งเสริมทัศนคติ ค่านิยม ความรู้ และทักษะให้แก่ เด็ก เยาวชน ผู้ใช้แรงงาน และประชาชน เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด 3. แก้ปัญหาทุจริต (ป.ป.ท. และป.ป.ช. หน่วยงาน หลัก โดยให้ ศปท.แต่ละ กระทรวงดำเนินการเป็นเจ้าภาพ) - โครงการสร้างนวัตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ 4. สังคมผู้สูงวัย (ศธ.เป็นหน่วยงานสนับสนุน) - โครงการจัดทำฐานข้อมูลและสวัสดิการเพื่อรองรับสังคมสูงวัย - โครงการพัฒนาระบบการออมและการลงทุนของครัวเรือน สำหรับสังคมสูงวัย 5. คนและการศึกษา (ศธ.เป็นหน่วยงานหลัก) โครงการยกระดับมาตรฐานศูนย์เด็กเล็ก โดยมีชุมชนเป็นฐาน (ศธ.สนับสนุน) โครงการพัฒนาโรงเรียนแห่งความสุข “ทำให้โรงเรียนเป็นบ้านอบอุ่น” โครงการบูรณาการการปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และเสริมสร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองดี แผนปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน + 2 ด้าน (1) ด้านการเมือง (2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (3) ด้านกฎหมาย (4) ด้านกระบวนการยุติธรรม (5) ด้านเศรษฐกิจ (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (7 ด้านสาธารณสุข (8) ด้านสังคม (9) ด้านพลังงาน (10) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (12) ด้านตำรวจ และ (13) ด้านการศึกษา ประเด็นข้อเสนอแผนงานการปฏิรูปการศึกษา กำหนดแผนเป็น 3 ระยะ คือ แผนระยะ 9 เดือน แผนระยะ 3 ปี และแผนระยะ 5-10 ปี การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่และกฎหมายลำดับรอง การปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และยกระดับคุณภาพจัดการศึกษา ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล

10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (ศธ.) 11 แผน ตำบล การสร้างความมั่นคงด้านอาชีพ และรายได้ (มท./พม.) 2 การแก้ไขปัญหายาเสพติด (ปปส.) 3 การลดปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนน (มท.) แผน ตำบล มั่นคง มั่นคั่ง ยั่งยืน 4 การลด/ป้องกันปัญหาอาชญากรรม (ตำรวจ/มท.) 5 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (มท.) การสร้างความรักความสามัคคีปรองดอง ความรักชาติ และความภูมิใจในชาติ (มท.) 6 7 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในตำบล (ทส.) 8 การพัฒนาการเกษตรระดับตำบล (กษ) 9 การส่งเสริมสุขภาวะเพื่อตำบลเข้มแข็ง (สธ.) 10 โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (ศธ.) 11 หนึ่งตำบลหนึ่งกีฬา (กก.)

การขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ตามนโยบาย “๑ ตำบล ๑ โรงเรียนคุณภาพ” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล มีความเข้มแข็งทางวิชาการและมีความพร้อมในการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพ สามารถให้บริการการศึกษาแก่นักเรียน และชุมชน 2. เพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความพร้อมในทุกด้าน ทั้งสมรรถนะ ศักยภาพ และความสามารถในการบริหารจัดการ มีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริหารจัดการเรียนการสอนคลังนวัตกรรมการเรียนการสอน 3. เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับเยาวชนที่ขาดแคลนได้เติบโตเป็นพลเมืองดี มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา 4. เพื่อพัฒนานักเรียนด้านสติปัญญา (IQ) ทัศนคติ พัฒนาการสมวัย (Physical) ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ และเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ (MQ) ตลอดจบการศึกษา และมีงานทำ ๕. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง เอกชน บ้าน วัด รัฐ และโรงเรียน ผลผลิต ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน องค์ประกอบ 7 เรื่อง คือ 1) อาคารสถานที่ 2) ระบบสาธารณูปโภค 3) สภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ 4) ระบบการป้องกันและระบบความปลอดภัยภายในโรงเรียน 5) โภชนาการและสุขภาพ 6) สิ่งอำนวยความสะดวก สำหรับผู้พิการหรือผู้มีความต้องการพิเศษ 7) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลผลิต ด้านที่ 2 ผู้บริหารสถานศึกษา มีองค์ประกอบ 5 เรื่อง คือ 1) ภาวะผู้นำ 2) ภาษาและการสื่อสาร 3) การบริหารสถานศึกษา 4) การบริหารแบบมีส่วนร่วม 5) การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน ผลผลิต ด้านที่ 3 ครู และบุคลากรทางการศึกษา องค์ประกอบ 7 เรื่อง คือ 1) ครูครบชั้นเรียน ตรงสาขาวิชา มีบุคลากร ธุรการ และนักการภารโรง และครูมีทักษะวิชาชีพ 2) หลักสูตรการจัดการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนรู้ 3) การจัดการชั้นเรียน 4) ภาษาและการสื่อสาร 5) การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูมีศักยภาพในการแยกความสามารถของนักเรียนในชั้นได้เป็นรายบุคคล 6) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม 7) การพัฒนาตนเองแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ ผลผลิต ด้านที่ 4 นักเรียน องค์ประกอบ 5 เรื่อง คือ 1) ความเป็นพลเมืองดี (MQ) 2) พัฒนาการทางสติปัญญา (IQ) 3) ทัศนคติ 4) พัฒนาการสมวัย (Physical) 5) จบการศึกษา – มีงานทำ (ได้รับการแนะแนวอย่างถูกต้องและรอบด้าน) ผลลัพธ์ 1. โรงเรียนมีโครงสร้างพื้นฐานที่มีความพร้อมในการจัดการศึกษาให้แก่นักเรียนได้อย่างมีคุณภาพ 2. ผู้บริหารมีความพร้อมด้านสมรรถนะ ศักยภาพ และความสามารถในการบริหารจัดการโรงเรียนให้มีคุณภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด 3. ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความพร้อมในทุกด้าน ครูได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ ศักยภาพ และความสามารถในการจัดการเรียนรู้ตามความถนัดและความสามารถของนักเรียนเป็นรายบุคคล มีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริหารจัดการเรียนการสอน คลังนวัตกรรมการเรียนการสอน 4. นักเรียนได้รับการพัฒนาในด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสติปัญญา มีทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และพัฒนาการที่สมวัย มีทัศนคติที่ดีสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ เป้าหมาย โรงเรียนประจำตำบลอย่างน้อยตำบลละ 1 โรงเรียน ได้รับการพัฒนาให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการและมีความพร้อมในการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพ สามารถให้บริการการศึกษาแก่นักเรียนและชุมชน ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความพร้อมในทุกด้าน ทั้งสมรรถนะ ศักยภาพ และความสามารถในการบริหารจัดการ มีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมการบริหารจัดการเรียนการสอนคลังนวัตกรรมการเรียนการสอน นักเรียนทุกคนในตำบลได้รับโอกาสและเข้าถึงการบริการและสวัสดิการทางการศึกษาที่มีคุณภาพและเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมในท้องถิ่นชนบท นักเรียนได้รับการพัฒนาทางด้านสติปัญญา (IQ) ทัศนคติ พัฒนาการสมวัย (Physical) ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ และเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติ (MQ) ตลอดจบการศึกษา และมีงานทำ ทุกภาคส่วนทั้งเอกชน บ้าน วัด รัฐ และโรงเรียน มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล