งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์

2 ภาวะผู้นำ Leadership การที่บุคคลหนึ่งหรือผู้นำ พยายามที่จะใช้
กำลังสมอง กำลังกาย และ กำลังใจ เพื่อ ภาวะผู้นำ Leadership จูงใจหรือดลใจ ให้ผู้ตาม กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามความประสงค์ของตนเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม การจูงใจหรือดลใจ เช่นนั้น จะต้องไม่ เป็นการบังคับ ตลอดจนได้รับความ ยินยอมจากผู้ตามด้วย และ

3 การบริหารความขัดแย้ง
ความต้องการต่าง ๆ (Needs) ของมนุษย์นั้น จะมีความ สัมพันธ์กับความรู้สึก หรืออารมณ์ (Emotion)

4 ธรรมชาติ แห่งความ ขัดแย้ง
สรรพสิ่งทั้งหลายตั้งอยู่บนความขัดแย้ง  อะตอม มีอีเลคตรอนและโปรตรอนซึ่งขัดแย้งกัน  อะตอม  โมเลกุล  สารประกอบ  สสาร  สสาร  พืช  สัตว์  มนุษย์  โลก ธรรมชาติ แห่งความ ขัดแย้ง จักรวาลอยู่บนความขัดแย้ง แรงเหวี่ยงจากศูนย์กลาง แรงดูดระหว่างมวล โลกตั้งอยู่บนความขัดแย้ง แรงดึงดูดเข้าหาศูนย์กลาง - แรงเหวี่ยงออกจากศูนย์กลาง ชีวิตตั้งอยู่บนความไม่พอดีของความขัดแย้ง ความขัดแย้งระหว่างภาวะที่อยากจะเป็นกับภาวะที่เป็นอยู่ ความขัดแย้งในตัวมนุษย์เอง  ตัณหา - ศักดิ์ศรี  กิเลส - สำนึกคุณธรรม  โลภ - เกียรติ  โกรธ - ความสงบสุข

5 ความขัดแย้ง (Conflict)
เป็นการต่อสู้ของบุคคล เพื่อให้ได้ตามความต้องการ ความปรารถนา ความคิดและความสนใจของบุคคล ที่ไปด้วยกันไม่ได้หรือที่เป็นไปในทางตรงกันข้าม ความขัดแย้งเกิดขึ้นเมื่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคลต้องเผชิญ กับเป้าหมายที่ไม่สามารถทำให้ทุกฝ่ายพอใจได้ ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นการรับรู้ที่บุคคลสองกลุ่มไม่ตรงกันในเรื่องพฤติ กรรมหรือจุดมุ่งหมายไม่ว่าการรับรู้จะถูกต้องหรือไม่ก็ ตาม เกิดความรู้สึกว่า ต้องมีการต่อสู้ เพื่อให้ได้รับชัยชนะ และแพ้กันไปข้างหนึ่ง ความไม่เห็นด้วยระหว่างบุคคล 2 คนขึ้นไป หรือกลุ่ม บุคคลเกิดขึ้นจากความจริงที่ว่า เขาต้องแบ่งสันปันส่วน ทรัพยากรต่าง ๆ หรือกิจกรรมการทำงาน หรือเกิดจาก ความแตกต่างในฐานะตำแหน่งเป้าหมาย คุณค่าและการ รับรู้

6 แนวคิด เกี่ยวกับ ความ ขัดแย้ง ในองค์กร
1. โบราณดั้งเดิม (Traditional) ความขัดแย้งทุกชนิดเป็นเครื่องทำลาย เป็นสิ่ง เลวร้าย และเป็นสิ่งที่ไม่ก่อประโยชน์ต่อองค์กร ผู้บริหารควรกำจัดหรือหลีกเลี่ยงให้ไกล การแก้ปัญหามี 2 วิธี คือ การเอาชนะ และการ ประณีประนอม แนวคิด เกี่ยวกับ ความ ขัดแย้ง ในองค์กร 2. พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science) ความขัดแย้งเป็นเรื่องธรรมชาติ เกิดจากความ สัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์และกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งแตก ต่างกัน ความขัดแย้งจึงเลี่ยงไม่ได้ ความขัดแย้ง อาจเป็นประโยชน์และมีคุณค่าต่อองค์กรได้ การแก้ไขควรศึกษาสาเหตุ และวิธีการแก้ไข ความขัดแย้ง เพื่อควบคุมให้อยู่ในระดับที่เป็นประ โยชน์ต่อองค์กร

7 แนวคิด เกี่ยวกับ ความ ขัดแย้ง ในองค์กร
3. ปฏิกริยาสัมพันธ์ (Interactions) แนวคิด เกี่ยวกับ ความ ขัดแย้ง ในองค์กร มองความขัดแย้งในแง่ดีและสร้างสรรค์ โดยถือว่าความขัดแย้งเป็นสิ่งที่จำเป็น และ ควรกระตุ้นให้เกิดผลของความก้าวหน้า การบริหาร การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เป็นหน้าที่สำคัญ ของนักบริหารที่จะต้องยอม รับว่ามีความขัดแย้ง และกระตุ้นเพื่อการแก้ไข (ต่อ)

8 การศึกษา ตัวแบบ พฤติกรรมมนุษย์ กับความ ขัดแย้ง
ตามแบบจิตวิทยาวิเคราะห์ (Psychoanalytic Man) 1 ตามแบบพฤติกรรมนิยม (Behavioristic Man) การศึกษา ตัวแบบ พฤติกรรมมนุษย์ กับความ ขัดแย้ง 2 มนุษย์ Man ตามแบบมนุษยนิยม (Humanistic Man) 3 ตามแบบที่ต้องการจะคงอยู่ (Existential Man) 4 ในฐานะที่เป็นระบบ (Man as a system) 5

9 ลักษณะ ความ ขัดแย้ง ในองค์กร
1 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล - บุคคล ความขัดแย้งระหว่างเพื่อนร่วมงาน ความขัดแย้งกับผู้บังคับบัญชา ลักษณะ ความ ขัดแย้ง ในองค์กร 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล - กลุ่ม ความไม่เข้าใจของบุคคลกับกลุ่ม ทำให้เกิดการแตกแยก และ แยก ตัวจากลุ่ม ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม – องค์กร หรือ องค์กรกับองค์กร 3 เช่น สหภาพแรงงานกับโรงงาน / การขัดแย้ง ในด้านผลกระโยชน์

10 1 เหตุแห่งความ ขัดแย้งภาย ในตนเอง ของมนุษย์ 2 3
กิเลส กับคุณธรรม 1 ความหงุดหงิด ความสงบ ความโลภ เมตตา พยาบาท อภัย โลภ เสียสละ ตระหนี่ เอื้อเฟื้อ ฯลฯ เหตุแห่งความ ขัดแย้งภาย ในตนเอง ของมนุษย์ ความอยากอันไม่สิ้นสุดกับข้อจำกัด เฉพาะตน 2 อยากรวย ความขี้เกียจ อยากสำเร็จ ไม่ชอบฝึกฝน อยากยิ่งใหญ่ -ความใจแคบ ฯลฯ ความเคยชินกับการเปลี่ยนแปลง 3 การเปลี่ยนแปลงบุคลิกใหม่ตามบทใหม่ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบแต่งตัวตามฐานะหน้าที่ การเปลี่ยนสไตล์การพูด

11 (ต่อ) 4 ความรู้สึกและอารมณ์กับระบบเหตุผล เหตุแห่งความ ขัดแย้งภาย
ในตนเอง ของมนุษย์ โกรธอยากฆ่า เราไม่มีสิทธิ์ฆ่าใคร เย้ายวนอารมณ์ กลัวเอดส์ เพราะต้องการเลือกคุณกับคุณ หรือโทษกับโทษ 5 มนุษยธรรม กับ หน้าที่ตามกฎหมาย เลิกเหล้า ลงแดง - ตับแข็ง (ต่อ)

12 เหตุแห่งความ ขัดแย้ง ระหว่าง มนุษย์ด้วยกัน 1 2 3 4 5 เพราะผลประโยชน์
เพราะความรักและคนรัก เหตุแห่งความ ขัดแย้ง ระหว่าง มนุษย์ด้วยกัน 3 เพราะความคิดเห็นและความเชื่อ 4 เพราะศักดิ์ศรี 5 เพราะความแตกต่างในมาตรฐานวิถีชีวิต

13 สาเหตุของความขัดแย้งภายในองค์กร
การจัดสรรทรัพยากร 1 ความแตกต่างระหว่างเป้าหมายของบุคคลกับองค์การ 2 ความไม่สัมพันธ์ระหว่าง คำสั่งทางการ - ไม่เป็นทางการ 3 สาเหตุของความขัดแย้งภายในองค์กร ลักษณะโครงสร้างขององค์การ 4 ความแตกต่างในด้านพฤติกรรมส่วนบุคคล 5 ลักษณะความไม่สัมพันธ์ระหว่างงานปฏิบัติ กับ ความสามารถ-ความคิด 6

14 แย่งกันกิน เหตุทะ เลาะกัน ในองค์กร 4 แย่งอำนาจ กันปกครอง แย่งถิ่นกันอยู่ แย่งคู่พิศวาส

15 ผลดีของความขัดแย้งภายในองค์กร
ป้องกันการหยุดนิ่งอยู่กับที่ 1 ทำให้คนแสวงหาแนวคิดใหม่ / แนวทางแก้ไขพัฒนา 2 บังคับให้คนสำรวจ ตรวจสอบความคิดของตัวเอง 3 ผลดีของความขัดแย้งภายในองค์กร ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ 4 เป็นการตรวจสอบความสามารถของตนอยู่เสมอ 5 การขัดแย้งภายนอก จะกระตุ้นให้เกิดความกลมเกลียวภายในองค์กร 6

16 ผลเสียของความขัดแย้งภายในองค์กร
คนทำงานหมดกำลังใจ ท้อแท้ เบื่อหน่าย เกิดความเครียด บางคน ย้าย-ลาออก / ขาดกำลังคน / หน่วยงานอ่อนแอ 1 สัมพันธภาพของความเป็นมิตรภาพ ระหว่างบุคคลลดลง 2 ผลเสียของความขัดแย้งภายในองค์กร บรรยากาศของความเชื่อถือและไว้วางใจระหว่างบุคคลหมดไป และเกิดการทะเลาะเบาะแว้งกันขึ้น 3 มีแรงต่อต้าน ทำให้การทำงานขาดความร่วมมือไม่สามารถทำงานเป็น ทีมได้ ความร่วมมือร่วมใจกันหมดไป 4

17 การคลี่คลาย ภาวะขัดแย้ง ในตัวเอง 1 อดกลั้น
การใช้ความนิ่งด้วยการวางใจเป็นกลาง 2 การคลี่คลาย ภาวะขัดแย้ง ในตัวเอง 3 การวิเคราะห์และสรุปหลักธรรม 4 การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว 5 การสร้างพลัง

18 วิธีแก้ ปัญหา ความขัดแย้ง วิธี แพ้ – แพ้ 1
(Lose – Lose Conflict Solution) 1 วิธีแก้ ปัญหา ความขัดแย้ง วิธีชนะ – ชนะ (Win – Win Conflict Solution) 2 วิธีชนะ – แพ้ (Win – Lose Conflict Solution) 3

19 การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง ด้วยวิธี แพ้ - แพ้
1 ประชุมปรึกษาหารือกัน - เจรจาต่อรอง การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง ด้วยวิธี ให้มีคนกลางหรือ ที่ปรึกษาจัดการแก้ปัญหา 2 ใช้กฎ ระเบียบ แก้ปัญหาความขัดแย้ง 3 แพ้ - แพ้ 4 ใช้วิธีการไกล่เกลี่ย - พบกันครึ่งทาง 5 ชะลอการตัดสินใจ - ซื้อเวลา

20 การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง ด้วยวิธี ชนะ - ชนะ
หาวิธีการที่ทุกฝ่ายยอมรับได้ ทั้งในด้านเป้าหมาย และวิธีการ โดยใช้วิธีที่ส่งเสริมให้มีส่วนรวมใน การตัดสินใจ โดยมุ่งที่ปัญหาที่เกิดขึ้น 1 การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง ด้วยวิธี ชนะ - ชนะ การใช้วิธีการให้มีการตัดสินปัญหาร่วมกัน เป็นการใช้ขั้นตอนของการแก้ปัญหา ให้ทุกฝ่าย ร่วมกันพิจารณาว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร มี แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างไรบ้าง และมีวิธี ใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด 2

21 การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง ด้วยวิธี ชนะ - แพ้
ใช้เสียงข้างมาก หรือแลกผลประโยชน์กัน 1 การใช้อำนาจในการบังคับบัญชา การตัด สินใจของฝ่ายบริหาร - ประธาน 2 การแก้ปัญหา ความขัดแย้ง ด้วยวิธี ชนะ - แพ้ การข่มขู่ให้กลัวโดยการสร้างเงื่อนไข 3 การเสนอนโยบายแลกเปลี่ยน เช่นให้ฝ่าย หนึ่งถอนแลกกับสิ่งตอบแทนอื่น / ย้ายไป ตำแหน่งอื่น 4

22 รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ
1 วิธีการสร้างสิ่งเร้า รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ วิธีการลดความขัดแย้ง 2 วิธีการให้เห็นผลความขัดแย้ง 3

23 รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ
ให้มีที่ปรึกษาภายนอก / บุคคลที่สามมาช่วยขจัดปัญหาความขัดแย้ง 1 ให้สองฝ่ายได้ตกลงปรึกษากัน เพื่อหาข้อยุติชี้ให้เห็นข้อดีข้อเสีย รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ 2 วิธีการ สร้างสิ่งเร้า จัดโครงสร้างองค์การใหม่ / เปลี่ยนโครงสร้างใหม่ / สร้างทีมงานใหม่ / ย้ายแผนก / ย้ายบุคคล 3 การแข่งขันให้สิ่งล่อใจ ค่าตอบแทนทำให้เกิดความสนใจไปในสิ่งนั้น 4 เลือกผู้บริหารที่เหมาะสม / เปลี่ยนงานที่เหมาะกับสถานการณ์ 5

24 รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ
การจัดให้แต่ละกลุ่มได้เห็นถึงข้อดีของอีกกลุ่มหนึ่ง 1 รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ วิธีการลด ความขัดแย้ง ให้มีการเผชิญหน้า พบปะสังสรรค์ จัดงานร่วมกัน 2 ให้หัวหน้าทั้งสองกลุ่มได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน 3

25 รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ
1. บังคับหรืออ่อนข้อ 1.1 ใช้อำนาจบังคับ 1.2 สร้างความสงบโดยไม่จัดการความขัดแย้ง 1.3 หลีกหนีจากการตัดสินใจ / เผชิญหน้า 1.4 ใช้เสียงส่วนใหญ่ / ใช้กฎระเบียบของ องค์กร รูปแบบ การบริหาร ความขัดแย้ง ในองค์การ วิธีการให้เห็น ผลความขัดแย้ง 2. ประนีประนอม 2.1 จัดการเลือกคนที่ขอบพอกันตกลงกันได้ให้อยู่ด้วยกัน 2.2 ไม่พูดถึงความขัดแย้งเลย พูดถึงความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม ย้ำความจงรักภักดี 2.3 ขจัดความขัดแย้งด้วยการถอนตัว

26 ทักษะ ในการ บริหาร ความขัดแย้ง ในองค์กร 1. ทักษะการพูดและการฟัง
การฟังอย่างวิเคราะห์ / อดทน ศิลปะการโน้มน้าวชักจูงใจ 2. การมองถึงแก่นของความขัดแย้ง ทักษะ ในการ บริหาร ความขัดแย้ง ในองค์กร มองปัญหาทะลุ / โปร่งใส มองเห็นความต้องการ / ความอิจฉาริษยา ฯลฯ 3. ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหา สามารถเผชิญกับความก้าวร้าว / แตกต่าง / ประชดประชัน - มีความมั่นคงในอารมณ์

27 ทักษะ ในการ บริหาร ความขัดแย้ง ในองค์กร (ต่อ)
4. ความเป็นคนที่มีความยืดหยุ่น ใจเปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นของทุกฝ่าย ฯลฯ 5. มีใจเป็นธรรม ทักษะ ในการ บริหาร ความขัดแย้ง ในองค์กร มองบุคคลด้วยความยุติธรรม มีเมตตากรุณา / เป็นที่พึ่งได้ ฯลฯ 6. มีข้อมูลในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง มีเทคนิควิธีในการแก้ปัญหา (ต่อ) 7. การพัฒนาเชาว์อารมณ์ (EQ)

28 อารมณ์ เป็นสภาวะทางจิตใจที่มีผลจาก การตอบสนองต่อตัวกระตุ้น
หรือสิ่งเร้า ทั้งที่มาจาก ภายใน เช่น ความ สบาย ความเจ็บปวด ความคิด จินตนาการ ภายนอก เช่น ผู้คน อุณหภูมิ เสียง แสง ดินฟ้า อากาศ ฯลฯ อารมณ์

29 ดี ชนิดของ อารมณ์ ไม่ดี ยิ้มแย้ม แจ่มใส รื่นเริง เบิกบาน มีอารมณ์ขัน
มองโลกในแง่ดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น สร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ ดี ชนิดของ อารมณ์ หงุดหงิด ขี้รำราญ โมโหง่าย เครียด มองโลกในแง่ร้าย เข้ากับผู้อื่นไม่ได้ หน้าบึ้งตึง คิ้วขมวด เบื่อหน่ายสิ่งรอบตัว ทำสิ่งที่ไม่เหมาะสม เช่น ขว้างปา / ด่าทอ ฯลฯ ไม่ดี

30 EQ ความสามารถในการพัฒนาเชิงอารมณ์ ด้วยการตระหนักถึงอารมณ์ของตนเอง และ
ผู้อื่น สามารถแยกแยะประเมินค่า ยอมรับ และแสดงอารมณ์ได้อย่างถูกต้อง ตรงตาม ความเป็นจริง สามารถเข้าถึงจิตใจผู้อื่น และ สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น รวมทั้งจัดการ กับอารมณ์ของตนเอง และยอมรับอารมณ์ ของผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มองโลกใน แง่ดี สามารถนำพลังแห่งอารมณ์ และความ รู้สึกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และผู้อื่น ช่วยให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต การเรียน การทำงาน และมีความสุขในชีวิต EQ - ความสามารถทาง อารมณ์ - วุฒิภาวะทางอารมณ์ - อัจฉริยะภาพทาง - เชาว์ทางสังคม - ความเฉลียวฉลาด ทางอารมณ์ - ปรีชาเชิงอารมณ์ ฯลฯ

31 = = IQ EQ Intelligent Quotient ระดับสติปัญญาในการเรียนรู้
ช่วยให้ประสบผลสำเร็จในการเรียน IQ = Emotional Quotient ระดับวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ได้จากการ เรียนรู้ ช่วยให้ประสบผลสำเร็จในหน้าที่ การงาน EQ =

32 ความจำ ความรู้สึก อารมณ์
สมองส่วนหน้า รับรู้ สิ่งเร้าจาก ภายนอก สิ่งเร้าจาก ภายใน สิ่งเร้าจาก ภายนอก สมองส่วนความคิด ความจำ ความรู้สึก อารมณ์ พฤติกรรม ของมนุษย์

33 อารมณ์ที่ได้รับการกำกับและพัฒนา
วงจรของการเกิดและการพัฒนา EQ สิ่งเร้าภายนอก สิ่งเร้าภายใน ความคิด ความรู้สึก เกิดอารมณ์ รู้เท่าทัน ไม่รู้เท่าทัน จัดปรับ ขัดเกลา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ส่งเสริม อารมณ์ที่พึงประสงค์ อารมณ์ไม่พึงประสงค์ อารมณ์ที่ได้รับการกำกับและพัฒนา วุฒิภาวะของอารมณ์ (EQ) พฤติกรรมที่พึงประสงค์บุคคลมีความผาสุก

34 อารมณ์รักใคร่ สามัคคี เอื้ออาทร
อารมณ์โกรธ ก้าวร้าว ทิศทางไปข้างหน้า - จ้องหน้า - ชกหน้า - ขว้างปา ฯลฯ อารมณ์กลัวหวาดผวา ทิศทางถอยหลัง - ขยับถอยห่าง - สะดุ้งผวา อารมณ์ดี เพลิดเพลิน ทิศทางขึ้นข้างบน - ตาลอยมองขึ้นข้างบน – กระโดดโลดเต้น - ยกมือร้องไชโย ทิศทางการ แสดงออก ทางอารมณ์ อารมณ์เศร้า เบื่อหน่าย ทิศทาง ลงล่าง - ตามองต่ำ – เดินคอตก - ฟุบหน้า ฯลฯ อารมณ์รักใคร่ สามัคคี เอื้ออาทร ทิศทาง ด้านข้าง - จูงมือ – แตะไหล่ – โอบไหล่ – กอด ซบไหล่ ฯลฯ อารมณ์ กังวล สับสน ทิศทางอยู่ ศูนย์กลาง ขมวดคิ้ว – กุมขมับ – นั่งกอดอก – เดินวนไปเวียนมา ผลุดลุกผลุดนั่ง ฯลฯ

35 ความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์ กับ สภาพร่างกาย
สภาพทางกาย อารมณ์โกรธ อารมณ์เศร้า อารมณ์กลัว อารมณ์สนุกสนาน อารมณ์รัก อารมณ์เกลียด / ไม่พอใจ อารมณ์อาย เลือดไหลไปที่มือ / ร่างกายเกร็ง ร่างกายอ่อนล้า / เคลื่อนไหวช้า/ ไม่มีพลัง ร่างกายจะแข็งและเกร็ง / เตรียมเผชิญ ร่างกายผ่อนคลาย ร่างกายจะผ่อนคลาย / อ่อนโยน / มีสุข แบะริมฝีปาก / จมูกเชิด หลบสายตา / ไม่กล้าสู้หน้า

36 กลวิธีเสริม สร้างความ สามารถทาง เชาว์อารมณ์
1 รู้อารมณ์ของตนเอง กลวิธีเสริม สร้างความ สามารถทาง เชาว์อารมณ์ การจัดการกับอารมณ์ที่ไม่พึงปรารถนา 2 สร้างพลังให้ตนเอง 3

37 รู้อารมณ์ ตนเอง ฝึกสติ วิธีกำกับความคิด ของตนเอง
ฝึกคิดทบทวน นึกคิดทบทวนเหตุการณ์ที่ผ่านมาใน อดีตถึงปัจจุบัน หายใจเข้าลึก ๆ ผ่อนลมหายใจออก / ยิ้ม รู้อารมณ์ ตนเอง ฝึกสติ วิธีกำกับความคิด ของตนเอง ฝึกคิดอย่างมีสติ คิดว่าขณะนี้คิดอะไร อารมณ์อะไร พูดอะไร ทำอะไร สิ่งที่ตนเอง คิด-พูด-ทำ ดีหรือไม่ เป็นประโยชน์ต่อ ตนเองและไม่ทำให้คนอื่นเดือดร้อนหรือไม่ ควรฝึกเป็นประจำ และสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน

38 การจัดการ กับอารมณ์ ที่ไม่พึง ปรารถนา
วิธีที่ 1 วิธีระงับและควบคุมอารมณ์ การจัดการ กับอารมณ์ ที่ไม่พึง ปรารถนา วิธีที่ 2 ปรับความคิด วิธีที่ 3 ผ่อนคลายความเครียด

39 วิธีระงับ และควบคุม อารมณ์ 1 2 3 4 5 6 7
สำรวจอารมณ์ที่เกิดขึ้น – ใช้วิธีการฝึกสติ 1 คาดการณ์ถึงผลดี / ผลเสียของการแสดงอารมณ์นั้น ๆ 2 พยายามควบคุมอารมณ์ด้วยวิธีต่าง ๆ - หายใจเข้า ออก-ยาว ๆ - นับ หรือนับต่อจนสงบ - ปลีกตัวหลีกห่างจากสถานการณ์นั้น ๆ ชั่วคราว - กำหนดลมหายใจ ให้สติอยู่ที่การหายใจ เข้า-ออก 3 วิธีระงับ และควบคุม อารมณ์ สำรวจความรู้สึกของตัวเองอีกครั้ง และชื่นชมกับการที่ตน เองสามารถผ่อนคลายอารมณ์ได้ 4 5 หาวิธีพูดคุยแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมต่อไป 6 คิดถึงเรื่องอื่นที่ไม่ใช่เรื่องที่ทำให้อารมณ์ขุ่นมัวเศร้าหมอง คิดถึงเรื่องที่ชอบที่รัก สวยงาม หรือที่ทำให้เกิดความพึงพอใจ 7

40 วิธี ปรับ ความคิด คิดแต่ในทางไม่ดี คิดแบบตำหนิหรือโทษตัวเองร่ำไป
คิดคาดเอาแต่สิ่งเลวร้าย ขจัดความคิด ที่ทำให้เกิด อารมณ์ที่ไม่ พึงปรารถนา วิธี ปรับ ความคิด ชอบคิดเดาใจคน คิดแบบทึกทักเอาหมด ย้ำคิดแต่ความผิดพลาด คิดแบบเอาความรู้สึกมาตัดสิน ชอบคิดเปรียบเทียบตนเองกับผู้อื่นตลอดเวลา

41 วิธีผ่อน คลาย ความเครียด ร้องไห้ พูดระบายความรู้สึก หัวเราะ
จินตนาการถึงสิ่งที่ทำให้ตนเองมีความสุข ฟังเพลง ร้องเพลง เล่นกีฬา กลิ่นบำบัด ธาราบำบัด ลีลาบำบัด สัมผัสบำบัด การหลับ / การงีบ ฯลฯ วิธีผ่อน คลาย ความเครียด

42 การสร้าง พลังให้ ตนเอง
มีความภาคภูมิใจในตนเอง 1 มีเจตคติที่ดีในทุก ๆ ด้าน 2 3 มีเป้าหมาย การสร้าง พลังให้ ตนเอง มีความหวัง 4 มีความพยายาม 5 มองโลกในแง่ดี 6 เชื่อมั่นในตนเอง ว่าตนเอง มีความ สามารถทำในสิ่งนั้นได้ 7 ชื่นชม และศรัทธาตนเอง 8

43 ลักษณะ เชาว์อารมณ์ และพฤติกรรม ที่นำไป สู่ความ สำเร็จ
ขยันและประหยัด ยืนหยัด อดทน ทำตนเชื่อถือได้ อ่อมน้อมถ่อมตน รู้จักประมาณตน รู้ผิดและรู้ชอบ ตั้งปณิธาน เข้าถึงจิตใจผู้อื่น ไม่โลภ รักสันโดษ เด็ดเดี่ยว มั่นคง ลักษณะ เชาว์อารมณ์ และพฤติกรรม ที่นำไป สู่ความ สำเร็จ

44 ลักษณะ เชาว์อารมณ์ พฤติกรรม ที่นำไป สู่ความ ล้มเหลว
ไม่เข้าใจผู้อื่น ไม่ประมาณตน ไม่เดียงสาต่อการมีสำนึกรับผิดชอบ โลภโมโทสัน เย่อหยิ่งยะโส โป้ปดมดเท็จ คบค้าเสเพล เกียจคร้านต่องาน ก่อหนี้สินล้นพ้นตัว ขี้เหล้าเมายา หูเบาเฉาปัญญา ลักษณะ เชาว์อารมณ์ พฤติกรรม ที่นำไป สู่ความ ล้มเหลว

45 ลักษณะ เชาว์อารมณ์ พฤติกรรม ที่นำไป สู่ความ ล้มเหลว
ทำตัวหัวไม้ ไร้สัจธรรม ใจคอคับแคบ คบคนไม่เลือก คิดคดล่อลวง สุรุ่ยสุร่าย ไร้อุดมการณ์ หลงการพนัน หุนหันพลันเล่น จิตใจโลเล อิจฉาริษยา นอกรีต ดื้อรั้น ลักษณะ เชาว์อารมณ์ พฤติกรรม ที่นำไป สู่ความ ล้มเหลว (ต่อ)

46 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google