การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 4 Numerical Differentiation and Integration
Advertisements

บทที่ 2 ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
4. Research tool and quality testing
Flow Control.
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
หน่วยที่ 4 วงจรกรองความถี่
+ LOW PASS HI.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
โรคหัวใจและหลอดเลือด. กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI หมายถึงกลุ่มโรคที่มีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตาย เฉียบพลัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด.
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
การประชุม เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนของ พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดิน ระดับจังหวัด โดย นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
การใช้เครื่องมือในระบบการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยระวังโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
นำเสนอ “นวัตกรรมดีเด่น” และ
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
แนวทางการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริม
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
การบริหารงานวิชาการ สู่ศตวรรษที่ 21
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวิจัยในชั้นเรียน ( Classroom Action Research)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
เครื่องวัดแบบชี้ค่าขนาดกระแสสลับ AC Indicating Ampere Meter
3. ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้บนอินเทอร์เน็ต
การเตรียมโรงเรือน การจัดการ 1. การย้ายมูลไก่ออกจากโรงเรือน
Control Chart for Attributes
เตรียมเงิน/หุ้นให้เพียงพอสำหรับการ Settlement แบบ 2 วันรวมกัน
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการชั่วคราว
การวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ และแบบสอบถามข้อสอบ โดยใช้ SPSS
การจัดทำรายละเอียดและ การประเมินรายวิชา (มคอ. ๓ และ มคอ. ๕)
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ภารกิจในการจัดการด้านความมั่นคงชายแดน ส่วนกิจการชายแดนและผู้อพยพ
Agency Genius's confidential document
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ชี้แจงการอัปโหลดข้อมูล จปฐ. ปี 2561
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 MLP รายวิชาพื้นฐาน
การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 MLP รายวิชาพื้นฐาน
Statistical Method for Computer Science
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
การถอดบทเรียน แนวทางการจัดทำวิจัย เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
ปิรามิด แห่งการรับรู้
2016 NH CAL RIPKEN LEAGUES WEST AREA TOURNAMENT
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน ม.4/1 – ม.4/4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
การนำเสนอแบบโปสเตอร์
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมรับการประกวดจังหวัดและชมรม TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2562.
แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ “เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การวิเคราะห์ข้อสอบ คุณภาพ ของข้อสอบ ผลการตอบข้อสอบ ของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อสอบ คุณภาพ ของข้อสอบ 1. ข้อสอบได้ทำหน้าที่ตามที่ครูตั้งใจไว้หรือไม่ * จำแนกนักเรียน เก่ง-อ่อน ได้หรือไม่ * วัดผลที่เกิดจากการเรียนการสอนได้ดีเพียงใด 2. ข้อสอบมีความยากพอเหมาะหรือไม่ 3. ข้อสอบไม่ถามนอกเรื่อง หรือมีข้อบกพร่อง หรือไม่ 4. ตัวลวงมีประสิทธิภาพเพียงใด

ประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อสอบ 1. ปรับปรุงข้อสอบ 2. อภิปรายผลการสอบของนักเรียน 3. ทราบจุดอ่อนของนักเรียน ช่วยการสอนซ่อมเสริม 4. ปรับปรุงการเรียนการสอน, หลักสูตร 5. เพิ่มทักษะการสร้างข้อสอบ

การวิเคราะห์ข้อสอบอิงกลุ่ม 1. ตรวจข้อสอบ 2. เรียงกระดาษคำตอบของ นร. จากคะแนนรวมสูงไปต่ำ 3. แบ่งครึ่งกระดาษคำตอบ กลุ่มสูง/กลุ่มต่ำ 4. นับจำนวนนักเรียนที่เลือกตอบตัวเลือก แต่ละตัวในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ 5. คำนวณค่าความยาก (P) ของข้อสอบ 6. คำนวณค่าอำนาจจำแนก (D) ของข้อสอบ 7. ประเมินประสิทธิภาพของตัวลวง

ค่าความยาก (P) สัดส่วนของนักเรียนที่ตอบข้อสอบถูก RH = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มสูง RL = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มต่ำ NH = จำนวนคนในกลุ่มสูง NL = จำนวนคนในกลุ่มต่ำ ค่า P มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1.00 P น้อย (เข้าใกล้ศูนย์) ข้อสอบยาก P มาก (เข้าใกล้หนึ่ง) ข้อสอบง่าย ข้อสอบที่ดีค่า P อยู่ระหว่าง .20 ถึง .80

คำนวณหาค่าความยาก (p) ได้จากสูตร n = จำนวนคนตอบข้อสอบถูก N = จำนวนคนสอบทั้งหมด

ค่าอำนาจจำแนก (D) สัดส่วนของนักเรียนในกลุ่มสูงที่ตอบข้อสอบถูกมากกว่านักเรียนในกลุ่มต่ำ ค่า D มีค่าอยู่ระหว่าง -1.00 ถึง +1.00 ค่า D เป็นบวก : นักเรียนกลุ่มสูงตอบถูกมากกว่ากลุ่มต่ำ ค่า D เข้าใกล้ศูนย์ : กลุ่มสูงตอบถูกใกล้เคียงกับกลุ่มต่ำ ค่า D เป็นลบ : กลุ่มสูงตอบถูกน้อยกว่ากลุ่มต่ำ ข้อสอบที่ดี ค่า D ตั้งแต่ .20 ขึ้นไป

คำนวณหาค่าอำนาจจำแนก (r) ได้จากสูตร Point biserial Correlation (rpbis) Mr = ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมสำหรับคนที่ตอบถูก Mt = ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมของทุกคนที่สอบ St = ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนรวม p = สัดส่วนของจำนวนคนตอบถูกต่อจำนวนคนสอบ ทั้งหมด หรือค่าความยากของข้อสอบ q = 1-p

การแปลความหมาย ค่า P, D ค่า P ความหมาย .80 - 1.0 ง่ายมาก .80 - 1.0 ง่ายมาก .60 - .79 ค่อนข้างง่าย .40 - .59 ยากง่ายปานกลาง .20 - .39 ค่อนข้างยาก .00 - .19 ยากมาก ค่า D ความหมาย .40 ขึ้นไป ดีมาก .30 - .39 ดีพอสมควร .20 - .29 พอใช้ได้ ต่ำกว่า .20 ใช้ไม่ได้

1. ข้อใดคือข้อที่เหมือนกันของหัตถกรรมและอุตสาหกรรม ก. วิธีการผลิต ข. ราคาผลผลิต ค. ความต้องการของตลาด ง. คุณภาพผลผลิต 2. ในพื้นที่ที่มีไม้ไผ่มาก นักเรียนคิว่าควรจะประกอบอาชีพใด มากที่สุด ก. ช่างทำเครื่องหนัง ข. ช่างจักสาน ค. ช่างแกะสลัก ง. ช่างทอผ้า

3. นักเรียนมีวิธีการแก้ดินเปรี้ยวอย่างไร ก. ใส่ปูนขาว ข. ใส่ปุ๋ยอัมโมเนียเพิ่ม ค. พรวนดินบ่อยๆ ง. ปลูกพืชตระกูลถั่ว 4. ด.ช.แดงเลือกซื้อผลไม้ที่สหกรณ์ครู โดยไม่ไปซื้อที่แผงลอย นักเรียนคิดว่ามาจากเหตุผลใด ก. ร้านที่สหกรณ์ครูถูกกว่า ประหยัดเงิน ข. ร้านที่สหกรณ์อยู่ใกล้บ้าน ค. ร้านที่สหกรณ์ อาหารมีคุณภาพ สะอาด ง. ร้านที่สหกรณ์มีการแบ่งผลกำไร

5. ข้อใดถูกต้องมากที่สุด ก. อำนาจนิติบัญญัติ ---- บริหารประเทศ ข. อำนาจบริหาร ---- ปกครองประเทศ ค. อำนาจตุลาการ ---- ออกกฎหมาย ง. อำนาจนิติบัญญัติ ---- ออกพระราชกำหนด

ข้อสอบค่อนข้างยาก ไม่มีอำนาจจำแนก ข้อสอบง่ายมาก มีอำนาจจำแนกพอใช้ ตัวลวง ค. ไม่ดี

ข้อสอบค่อนข้างยาก อำนาจจำแนกดีมาก ตัวลวง ข. ไม่ดี ข้อสอบค่อนข้างยาก อำนาจจำแนกไม่ดี ข้อสอบยากมาก อำนาจจำแนกดีพอควร

ข้อสอบที่ใช้ได้ กราฟแสดงคุณภาพของข้อสอบ P 1.0 .9 2(.9,.2) .8 .7 .6 .5 .4 .3 .2 .1 2(.9,.2) ข้อสอบที่ใช้ได้ 4(.3,-.4) 3(.3,.4) 1(.2,0) 5(.16,.3) -.4 -.3 -.2 -.1 .1 .2 .3 .4 .5 .6 .7 .8 .9 1.0 D

ความเที่ยง (reliability) ของแบบทดสอบทั้งฉบับ สูตรของ Kuder-Richardson formula 20 (KR 20) โดยที่ rtt = ความเที่ยงของแบบทดสอบ n = จำนวนข้อสอบ p = สัดส่วนของจำนวนคนที่ตอบถูกแต่ละข้อต่อจำนวนคน ทั้งหมดที่ทำข้อสอบ ข้อนั้น (ความยากของข้อสอบ) q = 1 – p Σpq = ผลบวกของ ผลคูณระหว่าง p และ q ของแต่ละข้อ = ความแปรปรวนของคะแนนรวม

บัตรข้อสอบ (ด้านหน้า) ข้อสอบวิชา …………………………… ชั้น …….. เรื่อง ………………………. จุดประสงค์ …………………………………………………….. ………………. ระดับพฤติกรรม …………………………………………………………………. ข้อสอบ ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………. เฉลย …………………………………………………………………………. ผู้ออกข้อสอบ …………………………………… วันที่ ………………………...

บัตรข้อสอบ (ด้านหลัง) บันทึกการใช้ข้อสอบ ครั้งที่ วันที่สอบ การสอบ ค่า P ค่า D _____ __/___/___ ___________________________ _____ _____

การวิเคราะห์ข้อสอบอิงเกณฑ์ แบบทดสอบที่จะวิเคราะห์ข้อสอบ 1. แบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเองเพื่อ ใช้วัดการรอบรู้ (mastery)/ไม่รอบรู้ (nonmastery) หรือ การผ่าน (pass)/ ไม่ผ่าน (fail) ในแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. แยกข้อสอบที่วัดในแต่ละจุดประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ข้อสอบ แยกเป็นอิสระจากกัน 3. แบบทดสอบประกอบด้วยข้อสอบแบบปรนัย ที่มีการให้คะแนนเป็นแบบ 1-0 4. กำหนดคะแนนจุดตัด (cut-off score) 5. ใช้สำหรับการสอบผู้เรียนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพียงครั้งเดียว เช่นการสอบหลังเรียน

ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบ 1. ตรวจให้คะแนนผลการตอบข้อสอบ (ตอบถูกให้ 1 ตอบผิดให้ 0) 2. รวมคะแนนและตัดสินการผ่าน (P) หรือ ไม่ผ่าน (F) จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. แยกกระดาษคำตอบของนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ผ่าน (P) และ กลุ่มที่ไม่ผ่าน (F) 4. บันทึกผลการตอบข้อสอบแต่ละข้อของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แยกกลุ่มละตาราง 5. นับจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบแต่ละข้อถูกในกลุ่มที่ผ่าน (RP) 6. นับจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบแต่ละข้อถูกในกลุ่มที่ไม่ผ่าน (RF) 7. คำนวณค่าความยากง่ายของข้อสอบ (ค่า P) และ ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (ดัชนี B)

ค่าความยากง่ายของข้อสอบ (ค่า P) สัดส่วนของจำนวนผู้เรียนที่ตอบข้อสอบถูกต้อง RP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก RF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มไม่ผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก NP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ผ่าน NF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ไม่ผ่าน การแปลความหมาย ค่า P จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1.00 ค่า P น้อย (ค่าเข้าใกล้ 0 ) เป็นข้อสอบที่ยาก ค่า P มาก (ค่าเข้าใกล้ 1 ) เป็นข้อสอบที่ง่าย

ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (ค่าดัชนี B) RP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก RF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มไม่ผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก NP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ผ่าน NF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ไม่ผ่าน การแปลความหมาย ค่า B จะมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง 1.00 ค่า B เป็น ลบ เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ค่า B เข้าใกล้ 0 เป็นข้อสอบที่ไม่มีอำนาจจำแนก ค่า B เป็น บวก เป็นข้อสอบที่ที่มีอำนาจจำแนก คือกลุ่มที่ผ่านตอบถูกมากว่ากลุ่มที่ไม่ผ่าน

ข้อสอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 ค่า P 1.00 0.90 0.70 0.80 0.40 ค่า B 0.00 0.25 0.75 0.08 0.67

การคำนวณค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ โดยที่ = ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ = ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบที่คำนวณ ตามสูตรคำนวณความเชื่อมั่นแบบอิงกลุ่ม = ความแปรปรวนของคะแนนผลการสอบทั้งฉบับ = ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลการสอบ = คะแนนเกณฑ์