.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ระบบการบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา IEM3105 Industrial Maintenance System อาจารย์ผู้สอน อ.สมศักดิ์ มีนคร Mobile: 089-8150399 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
5 ขั้นตอนกับการบำรุงรักษาตามแผน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University .: บทที่ 6 การบำรุงรักษาตามแผน 5 ขั้นตอนกับการบำรุงรักษาตามแผน ประเมินเครื่องจักรและการสำรวจสภาพ ทำให้การเสื่อมสภาพกลับสู่สภาพปกติ สร้างระบบการควบคุมดูแลข้อมูล สร้างระบบการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา สร้างระบบการบำรุงรักษาเชิงทำนาย .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. การประเมินเครื่องจักร/สำรวจสภาพปัจจุบัน ดำเนินการกำหนด rank ของเครื่องจักรในกระบวนการผลิตโดยอาศัยเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่เหมือนกัน และจัดทำบัญชีรายการเครื่องจักรเพื่อคัดเลือกเครื่องจักรที่เป็นเป้าหมายในการบำรุงรักษาตามแผน มีองค์ประกอบดังนี้ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. การประเมินเครื่องจักร/สำรวจสภาพปัจจุบัน ก. จัดทำเอกสารบันทึกใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการประเมิน - หมายเลขทรัพย์สิน - ชื่อเครื่องจักร/หมายเลขเครื่อง - ตำแหน่งที่ตั้งของเครื่องจักร ชื่อโรงงาน - ผู้สร้างเครื่อง วันที่สร้าง วันที่ติดตั้ง - บันทึกการเปลี่ยนสเปก - บันทึกการบำรุงรักษา - สเปกของอุปกรณ์เสริมที่สำคัญ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. การประเมินเครื่องจักร/สำรวจสภาพปัจจุบัน ข. กำหนด rank ของเครื่องจักรโดยการประเมิน 1. ด้านความปลอดภัย - การเกิดอันตราย - ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม - ไม่อยู่ในข่าย 2. ด้านคุณภาพ - กระทบรุนแรงต่อคุณภาพ - ผลิตภัณฑ์เกิดการแปรผัน (แก้ได้) - ไม่อยู่ในข่ายดังกล่าว A B C A B C .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. การประเมินเครื่องจักร/สำรวจสภาพปัจจุบัน ข. กำหนด rank ของเครื่องจักรโดยการประเมิน 3. การทำงาน - กระทบรุนแรงต่อการผลิตทั้งหมด - กระทบรุนแรงต่อการผลิตบางส่วน - กระทบเล็กน้อยหรือไม่กระทบเลย 4. การบำรุงรักษา - เวลาซ่อมนานกว่า 4 ชม. หรือเสียมากกว่า 3 ครั้ง/เดือน - เวลาซ่อมไม่เกิน 4 ชม. หรือเสียไม่เกิน 3 ครั้ง/เดือน - - สามารถแก้ไขให้กลับสู่สภาพเดิมได้ทันที่ A B C A B C .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University กำหนด rank ของเครื่องจักรโดยการประเมิน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. การประเมินเครื่องจักร/สำรวจสภาพปัจจุบัน ค. กำหนด rank ของการชำรุดเสียหายที่เกิดขึ้น 1. การชำรุดเสียหายที่รุนแรง - หยุดการผลิตมากกว่า 1 ชม. เสียทรัพสิน - บาดเจ็บสาหัส/เสียชีวิต 2. การชำรุดเสียหายปานกลาง - หยุดการผลิตต่ำกว่า 1 ชม. เสียทรัพสิน - บาดเจ็บ 3. การชำรุดเสียหายที่เบา - หยุดการผลิตต่ำกว่า 1 ชม. เสียทรัพสิน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. การประเมินเครื่องจักร/สำรวจสภาพปัจจุบัน ง. สภาพปัจจุบันของการชำรุดเสียหาย และกำหนดเป้าหมาย 1. การชำรุดเสียหายแยกตาม rank - เครื่องจักร rank A = 0 - เครื่องจักร rank B = 1/10ของสภาพปัจจุบัน - เครื่องจักร rank C = 1/2ของสภาพปัจจุบัน 2. ความรุนแรงแยกตาม rank - การชำรุดเสียหายที่รุนแรง = 0 - การชำรุดเสียหายที่ปานกลาง = 1/10 ของสภาพปัจจุบัน - การชำรุดเสียหายที่เบา = 1/2 ของสภาพปัจจุบัน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2. ทำให้การเสื่อมสภาพกลับสู่สภาพปกติ การเสื่อมสภาพจากปัจจัยเชิงบังคับเป็นระยะเวลานานแม้ว่าจะมีการบำรุงรักษาตามแผนอย่างจริงจังก็ตาม ก็มักจะคาดหวังผลได้ยาก ก้าวแรกของการบำรุงรักษาเชิงวางแผน คือ การทำให้เครื่องจักรกลับสู่สภาพที่ควรจะเป็น และสนับสนุนกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเองของพนักงานในระดับปฏิบัติการ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2. ทำให้การเสื่อมสภาพกลับสู่สภาพปกติ สนับสนุนการทำให้การเสื่อมสภาพกลับสู่สภาพปกติ 1. รีบทำการแก้ไขส่วนที่มีการเสื่อมสภาพ 2. จัดทำ one point lesson sheets ของโครงสร้างและหน้าที่เครื่องจักร 3. ชี้แนะเทคนิคในการตรวจเช็ก การแก้ไขให้กลับสู่สภาพปกติ ข. ปรับปรุงจุดอ่อนและยืดอายุการใช้งาน 1. วิเคราะห์จุดอ่อนด้วย FMEA 2. วิเคราะห์จุดอ่อนด้วย PM .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2. ทำให้การเสื่อมสภาพกลับสู่สภาพปกติ ค. ป้องกันการเกิดการชำรุดเสียหายที่รุนแรง/ปานกลางและคล้ายคลึงซ้ำ 1. จัดทำรายงานเร่งด่วนเกี่ยวกับความเสียหาย 2. ประชุมพิจารณามาตรการป้องกันการเกิดซ้ำ 3. จัดทำงบประมาณ 4. ดำเนินมาตรการป้องกันเกี่ยวกับความสียหาย ง. การลดการชำรุดเสียหายของกระบวนการ 1. หาสาเหตุและปัจจัยของการชำรุดในกระบวนการ 2. เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของวัตถุดิบหรือวัสดุเสริม .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3. การสร้างระบบการควบคุมดูแลข้อมูล เนื่องจากมีเครื่องจักรที่ต้องทำการบำรุงรักษามากมายหลายชนิดและ รูปแบบของการบำรุงรักษาตามแต่กระบวนการก็แตกต่างกัน ดังนั้น ข้อมูลที่จำเป็นจึงมีจำนวนมาก การควบคุมดูแลด้วยคนจึงเป็นไปได้ยาก ด้วยเหตุนี้การทำให้เป็นระบบ EDPS จึงมีความจำเป็น ในช่วงแรกที่เริ่มทำระบบ EDPS นั้นมีประเด็นที่สำคัญดังต่อไปนี้ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3. การสร้างระบบการควบคุมดูแลข้อมูล ก. ประเมินรูปแบบการบำรุงรักษาที่ใช้ในปัจจุบันใหม่อีกครั้ง ข. เตรียมข้อมูลที่จำเป็นไว้ก่อนที่จะทำให้เป็นระบบ EDPS ค. สรุปว่าจะดำเนินการระบบ EDPS ถึงระดับใด ง. ทำให้ผู้รับผิดชอบงานด้านการบำรุงรักษาสามารถป้อนข้อมูลได้ง่าย จ. เริ่มด้วยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ฉ. หากเกิดการชำรุดเสียหายที่รุนแรง/ปานกลางขึ้นซ้ำ 3 ครั้ง ถือว่าระบบ EDPS ไม่มีประสิทธิผล .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 4. การสร้างระบบการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา ก. การเตรียมการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา ข. ขั้นตอนของการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา ค. การคัดเลือกเครื่องจักรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายสำหรับการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา ง. แนวทางในการวางแผนการบำรุงรักษา จ. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ก. การเตรียมการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา - เครื่องจักรสำรอง - ผลิตภัณฑ์สำรอง - อุปกรณ์ตรวจสอบ - สารหล่อลื่น - เอกสารด้านเทคโนโลยี .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ข. ขั้นตอนของการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา - เครื่องจักรกลุ่มเป้าหมาย - ทำคู่มือ และ check sheet - กำหนดรายละเอียด/รอบเวลาการบำรุงรักษา - ดำเนินการ - ทำเอกสารรายงาน - บันทึกลงในประวัติ/จัดเก็บ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ค. การคัดเลือกเครื่องจักรที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย - ถูกกำหนดด้วยกฎหมายของการบำรุงรักษาตามแผน - มีการกำหนดรอบระยะเวลาของการบำรุงรักษาตามประสบการณ์ - จำเป็นต้องมีการตรวจเช็กเนื่องจากมีหน้าที่สำคัญในสายการผลิต - มีการกำหนดรอบระยะเวลาเปลี่ยนชิ้นส่วน/หมดอายุการใช้งาน - ทราบช่วงเวลาการเสื่อมสภาพจากการเกาะติดของสิ่งแปลกปลอม - ไม่สามารถซ่อม/ตรวจจับความผิดปกติได้ในระหว่างเดินเครื่อง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ง. แนวทางในการวางแผนการบำรุงรักษา - ลดระยะเวลาในการซ่อมแซม - ลดการเคลื่อนย้ายคนในระหว่างการซ่อมให้น้อยที่สุด - จัดเตรียมงานซ่อมไว้ล่วงหน้าให้สมบูรณ์ - สำรวจการเปลี่ยนแปลงสภาวะเงื่อนไข - การบันทึกการตรวจเช็กประจำวัน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University จ. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา - เกณฑ์มาตรฐานการเลือกวัสดุ - เกณฑ์มาตรฐานการประมาณการซ่อม - เกณฑ์มาตรฐานการควบคุมดูแลชิ้นส่วนอะไหล่สำรอง .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ตัวอย่างเกณฑ์มาตรฐานการประมาณการซ่อม รายการอุปกรณ์ รายละเอียดประมาณการซ่อม เครื่องจักรที่หมุนได้ - การถอดแยกและประกอบ - การเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไร - การปรับแต่ง - การปรับศูนย์ - การเปลี่ยนน้ำมันหล่อลื่น คอลัมน์และถังเก็บชนิดต่างๆ - การปิด – เปิด manhole - การทำความสะอาดภายใน - การถอดและการติดตั้งชิ้นส่วนภายใน เตาเผา - การถอดและติดตั้งหัว burner - การเปลี่ยนและทำความสะอาดท่อให้ความร้อน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 5. การสร้างระบบการบำรุงรักษาเชิงทำนาย การบำรุงรักษาเชิงทำนาย (Condition based maintenance : CBM ) ที่มีการสำรวจสภาพของการเสื่อมสภาพโดยใช้วิธีการตรวจวินิจฉัยเครื่องจักร และกำหนดรอบระยะเวลาและวิธีการบำรุงรักษาจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น แต่วิธีการบำรุงรักษาเชิงทำนายที่มีเงื่อนไข คือ จะต้องสามารถตรวจวัดสมบัติทางกายภาพบางประการที่จะเป็นตัวแทนแสดงให้เห็นถึงการเสื่อมสภาพของเครื่องจักรได้ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แนวทางในการตรวจวินิจฉัยเครื่องจักรที่หมุนได้ - คัดเลือกพนักงานที่อยากจะให้เป็นช่างเทคนิคสำหรับการตรวจวินิจฉัย - กำหนดเครื่องจักรที่เป็นต้นแบบฝึกใช้เทคโนโลยีของการตรวจวินิจฉัย - กำหนดเครื่องจักรต้นแบบในสถานที่ทำงานที่จะใช้การตรวจวินิจฉัย - กำหนดรอบระยะเวลาชั่วคราวและเกณฑ์มาตรฐานชั่วคราว - ลองตรวจวินิจฉัยเครื่องจักรต้นแบบอย่างจริงจังในช่วงระยะเวลาหนึ่ง - ดำเนินการประชุมเพื่อพิจารณาวิธีการตรวจวินิจฉัยการสั่นสะเทือน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยอุปกรณ์ที่ไม่เคลื่อนไหว ปรากฎการผิดปกติ เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัย รั่ว เกจวัดความหนาโดยใช้อัลตราโซนิก เครื่องตรวจจับก๊าซ สั่น - เครื่องวัดการสั่นสะเทือน - เครื่องวิเคราะห์ความถี่ของคลื่น การบันทึกการเดินเครื่อง ความสกปรกภายใน - radioscope บันทึกการเดินเครื่อง อุดตัน - เกจวัดความดัน radioscope - อุปกรณ์วัดการสั่นสะเทือน .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การตรวจวินิจฉัยเครื่องจักรในระหว่างการผลิต - ความผิดปกติของเครื่องจักรจากค่าที่แสดงบนจอของ เครื่องวัด - การตรวจวินิจฉัยการสั่นสะเทือนของเครื่องหมุนและอื่น ๆ - การตรวจวินิจฉัยการรั่ว - การตรวจวินิจฉัยเสียงที่ผิดปกติ - การตรวจวินิจฉัยน้ำมันหล่อลื่น - อื่นๆ .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การตรวจวินิจฉัยเครื่องจักรในระหว่างการซ่อมบำรุงตามกำหนดเวลา - การตรวจสอบอุปกรณ์ที่ไมเคลื่อนไหวโดยการ overhaul - การตรวจสอบเครื่องจักรที่หมุนขนาดใหญ่และไม่มีเครื่องสำรองโดย overhaul - ตรวจสอบการเสื่อมสภาพของวัสดุของอุปกรณ์ที่ไม่เคลื่อนไหว .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::