กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ. ศ
อย่าลืมปิดเสียง เครื่องมือสื่อสาร นะ จ๊ะ. ภูมิใจเสนอ “ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ” โดย น. ส. นภัสกร นาคอินทร์ น. ส. สุพัตรา นามผล.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
การจัดซื้อจัดจ้าง.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบสำนักงานประกันสังคม ว่าด้วย การคืนเงินให้แก่นายจ้าง หรือ ผู้ประกันตน หรือบุคคลอื่น ในกรณีเงิน ที่รับไว้เป็นเงินไม่พึงชำระแก่กองทุน.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
1.
15 กันยายน 2558 หมวดงบลงทุน. งบ ลงทุน 1) ครุภัณฑ์ 2) ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่าย เพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายใน ลักษณะค่าครุภัณฑ์
คู่มือการยืมเงินราชการและเงินทด รองราชการ วัตถุประสงค์ การยืมเงินราชการและเงินทดรอง ราชการ เป็นกระบวนการหนึ่งของการเบิก จ่ายเงินจากคลัง คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ขั้นตอนการใช้บริการต้องทำอย่างไร  สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ ตรวจสอบข้อมูลสถานประกอบกิจการในระบบ ที่
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความรู้เกี่ยวกับกองทุนเงินทดแทน
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การส่งกำลังบำรุงในระดับต่าง ๆ ของ ทบ.
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผน Planfin
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
ขั้นตอน วิธีการ ดำเนินการ การนำคนต่างด้าวมาทำงานกับนายจ้างในประเทศ ภายใต้ MOU นำเข้า MOU 4 Nov 16.
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประชุมชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
การแจ้งขออายัดสลากเพื่อประวิงการจ่ายเงินรางวัล
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยการจัดหาไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในรูปแบบ Feed-in Tariff พ.ศ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
สำนักงานประกันสังคม จังหวัดปัตตานี
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
แจ้งเข้า – ออก ที่ถูกต้องได้ประโยชน์อย่างไร และงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กองทุนเงินทดแทน (พรบ.เงินทดแทน พ.ศ.2537) โดย ร.อ. มานพ ทุสาวุธ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม

intro ประกันสังคมประกอบไปด้วย 2 กองทุน ประกันสังคม จัดเก็บเงินสมทบจาก 3 ฝ่าย จัดเก็บเงินสมทบจากนายจ้าง กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน ให้ความคุ้มครองใน 7 กรณี โดยไม่เกี่ยวกับการทำงาน ดังนี้ ตั้งแต่วันที่ 9 ธ.ค.2561เป็นต้นไป ลูกจ้างหน่วยงานรัฐ จะได้รับความคุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทน

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม หน้าที่ของนายจ้าง - ขึ้นทะเบียนนายจ้าง ภายใน 30 วันนับแต่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป - จ่ายเงินสมทบประจำปี - รายงานค่าจ้างจริงของปีที่ผ่านมาภายในเดือนกุมภาพันธ์ - แจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงของนายจ้าง ภายใน 30 วัน - แจ้งการประสบอันตรายของลูกจ้าง ภายใน 15 วัน นับแต่วันทราบเหตุ การขึ้นทะเบียนนายจ้าง - ยื่นแบบขึ้นทะเบียนนายจ้าง ภายใน 30 วันนับแต่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป (รวมอยู่ในชุดเดียวกับการขึ้นทะเบียนประกันสังคม) - ใช้เอกสารแบบขึ้นทะเบียนนายจ้าง (สปส. 1-01) ชุดเดียวกับกองทุนประกันสังคม - เมื่อขึ้นทะเบียนแล้ว นายจ้างจะได้รับหลักฐาน ดังนี้ - เลขที่บัญชีนายจ้าง ซึ่งเป็นเลขเดียวกับกองทุนประกันสังคม เพื่อใช้ในการอ้างอิงและติดต่องานกับสำนักงานประกันสังคม - ได้รับแจ้งผลการพิจารณากำหนดรหัสประเภทกิจการและอัตราเงินสมทบ - ใบแจ้งเงินสมทบเพื่อแจ้งให้นายจ้างทราบจำนวนเงินสมทบที่จะต้องจ่าย พร้อมทั้งกำหนดวันจ่าย - หนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียน

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม การจ่ายเงินสมทบและการรายงานค่าจ้าง  นายจ้างมีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเป็นรายปี  โดยสำนักงานจะเป็นผู้แจ้งยอดเงินสมทบที่นายจ้างต้องจ่ายให้ทราบล่วงหน้า 1.  วิธีการและกำหนดเวลาการจ่ายเงินสมทบ     เงินสมทบกองทุนเงินทดแทนจัดเก็บปีละ 2 ครั้ง  ดังนี้    ครั้งที่  1   จัดเก็บภายใน 31 มกราคมของทุกปี  เรียกว่า  “เงินสมทบประจำปี”  เว้นแต่ปีแรกที่ขึ้นทะเบียนนายจ้างต้องจ่ายภายใน 30 วันนับแต่มีลูกจ้าง 1 คนขึ้นไป ครั้งที่  2   จัดเก็บภายใน 31 มีนาคมของทุกปี  เรียกว่า  “เงินสมทบจากการรายงานค่าจ้าง”   เนื่องจากเงินสมทบที่จัดเก็บเมื่อต้นปี  คำนวณมาจากค่าจ้างที่ได้ประมาณการไว้ล่วงหน้า X  อัตราเงินสมทบ  และในระหว่างปีอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง เพิ่ม  หรือลดค่าจ้าง  ดังนั้นภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปีนายจ้างจึงมีหน้าที่แจ้งจำนวนค่าจ้างที่จ่ายให้ลูกจ้างทุกคนรวมทั้งปีที่แล้ว    ไปให้สำนักงาน ประกันสังคมจังหวัดราชบุรีทราบอีกครั้ง  ตามแบบใบแสดงเงินสมทบประจำปี (กท 20)  เพื่อจะนำไปเปรียบเทียบกับค่าจ้างที่ได้ประมาณการไว้เมื่อต้น ปี   หากค่าจ้างที่ประมาณไว้เดิมน้อยกว่าก็จะเรียกเก็บเงินสมทบเพิ่มภายในเดือนมีนาคม  เว้นแต่ค่าจ้างที่ประมาณการสูงกว่าค่าจ้างจริง  นายจ้างก็จะได้รับ เงินสมทบส่วนที่จ่ายเกินคืนไป   หากนายจ้างจ่ายเงินสมทบเกินเวลาที่กำหนด   จะต้องจ่ายค่าปรับ 3%   ต่อเดือนของเงินสมทบที่ต้องจ่าย

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม 2. อัตราเงินสมทบ อัตราเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ที่จัดเก็บจากนายจ้างแต่ละรายจะแตกต่างกันตามลักษณะความเสี่ยงภัยในการทำงานของแต่ละกิจการ ซึ่งปัจจุบันกำหนดไว้ 131 ประเภทกิจการ อัตราเงินสมทบระหว่าง 0.2% - 1.0% ของค่าจ้าง เช่น กิจการขายอาหารจ่ายเงินสมทบ 0.2% ของค่าจ้าง ถ้าเป็นกิจการก่อสร้างจ่ายเงินสมทบ 1.0% ของค่าจ้าง เป็นต้น เมื่อนายจ้างจ่ายเงินสมทบครบ 4 ปี ปฏิทินแล้ว ตั้งแต่ปีที่ 5 เป็นต้นไป อัตราเงินสมทบอาจจะลด หรือเพิ่มขึ้นจากเดิมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่าของอัตราส่วนการสูญเสียซึ่งสำนักงานฯ ได้เก็บสถิติข้อมูลไว้ 3. ค่าจ้างและการคำนวณเงินสมทบ เงินสมทบจะคำนวณจากค่าจ้างที่นายจ้างจ่ายให้กับลูกจ้างทุกคนรวมทั้งปี X อัตราเงินสมทบของกิจการนั้น ลูกจ้างคนใด ได้รับค่าจ้างเกินกว่า 240,000 บาทต่อปี ให้นำมาคำนวณเพียง 240,000 บาท 4. แบบที่ใช้แจ้งยอดเงินสมทบ สำนักงานประกันสังคมจะแจ้งยอดเงินสมทบที่นายจ้างต้องชำระให้ทราบล่วงหน้าพร้อมทั้งกำหนดวันชำระเงินตามแบบต่าง ๆ ดังนี้ 4.1 ใบประเมินเงินสมทบประจำปี (กท.26 ก) สำหรับเรียกเก็บเงินสมทบต้นปี 4.2 ใบแจ้งเงินสมทบจากการรายงานค่าจ้าง (กท.25 ค) สำหรับเรียกเก็บเงินสมทบเพิ่มจากการรายงานค่าจ้าง 4.3 ใบแจ้งเงินสมทบจากการตรวจบัญชี (กท.25 ก) สำหรับเรียกเก็บเงินสมทบภายหลังทราบผลการตรวจบัญชีประจำปี 5. วิธีการชำระเงินสมทบ - เงินสดหรือเช็ค - ธนาณัติ - โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย (มหาชน) จำกัด

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม การแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริง นายจ้างมีหน้าที่แจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงของนายจ้างต่อสำนักงาน ภายใน 30 วันนับแต่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนชื่อ ที่อยู่ ขยาย/ยกเลิกสาขา เปลี่ยนแปลงประเภทกิจการ ฯลฯ โดยใช้แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงนายจ้าง (สปส. 6-15) (เรื่องใดที่ได้แจ้งกองทุน ประกันสังคมภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปแล้ว ไม่ต้องแจ้งซ้ำ) แจ้งการประสบอันตรายของลูกจ้าง เมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานให้นายจ้าง นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างได้รับการรักษาพยาบาลทันที และแจ้ง สำนักงานประกันสังคม ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ทราบ โดยใช้แบบแจ้งการประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยฯ (กท 16) ลูกจ้างสามารถเข้ารับการ รักษาพยาบาลในสถานพยาบาลใดก็ได้ โดยทดรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน หรือใช้แบบ กท.44 ส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาหาก โรงพยาบาลนั้นเป็นโรงพยาบาลในความตกลงกับกองทุนเงินทดแทน โดยโรงพยาบาลจะเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาลจากสำนักงานฯ โดยตรง โรงพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน รพ.นครปฐม รพ.เมตตาประชารักษ์ รพ.จันทรุเบกษา เป็นต้น

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม สิทธิประโยชน์ของลูกจ้าง (กองทุนเงินทดแทน) เมื่อนายจ้างขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทนแล้ว ลูกจ้างทุกคนที่ทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับการ คุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทนทันที เมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หรือถึงแก่ความตายหรือสูญหาย เนื่องจาการทำงานให้นายจ้าง ซึ่งลูกจ้างจะได้รับค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทนราย เดือน (กรณีหยุดงาน กรณีสูญเสียอวัยวะ หรือสมรรถภาพของอวัยวะกรณีทุพพลภาพ และกรณีตาย) ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน และค่าทำ ศพ ตอนนี้กำลังแก้ไขกฎหมายให้สิทธิประโยชน์เทียบเท่ากองทุนประกันสังคม ใน 4 กรณี

อัตราอาจมีการเปลี่ยนแปลง 1. กรณีเจ็บป่วย - ค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 35,000 บาท ต่อการเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย 1 ครั้ง หากเกินเบิกเพิ่มได้ตามเกณฑ์ ที่กำหนดในกฏกระทรวงอีกไม่เกิน 200,000 บาท** - ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง หากแพทย์ให้หยุดพักรักษาตัวติดต่อกันเกิน 3 วัน แต่ไม่เกิน 1 ปี 2. กรณีสูญเสียอวัยวะ - ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง ตามประเภทการสูญเสียอวัยวะ และระยะเวลา ที่กำหนด กรณีที่ลูกจ้างจำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูจะได้รับการฟื้นฟูที่ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน ของสำนักงานประกันสังคม ดังนี้ - ค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูด้านการแพทย์ และอาชีพเท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 20,000 บาท - ค่าใช้จ่ายในการผ่าตัดเพื่อประโยชน์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงานไม่เกิน 20,000 บาท 3. กรณีทุพพลภาพ - ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง เป็นเวลาไม่เกิน 15 ปี 4. กรณีตายหรือสูญหาย - ค่าทำศพจ่ายให้แก่ผู้จัดการศพ 100 เท่าของอัตราสูงสุดของค่าจ้างขั้นต่ำรายวัน (ปัจจุบันจ่าย 18,100 บาท) - ค่าทดแทนรายเดือนในอัตรา 60 % ของค่าจ้าง เป็นเวลา 8 ปี แก่ทายาท

ถามตอบข้อสงสัย-*-