อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทบาทของอาจารย์ 9 มทร.กับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
Advertisements

1. Free flow of goods สินค้าเข้าออกประเทศเสรี -Tariff 0% and non-tariff barriers ลดอุปสรรค -Rules of origin (ROO) ผลิต สินค้าได้ตามเงื่อนไข -Trade facilitation.
จุดเริ่มต้นของอาเซียน
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Social Protection Floor: Situation and Way Forward Thaworn Sakunphanit.
สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงคมนาคม 1 โดย ดร.สมนึก คีรีโต ผู้อำนวยการ สถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
ที่ปรึกษาการบริหารโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการเชิงกลยุทธ์
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
ASEAN Becomes Single Market
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
The Association of Thai Professionals in European Region
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ )
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ จินางค์กูร โรจนนันต์ ที่ปรึกษาด้านนโนยบายและแผน โครงการพัฒนาบุคลากรด้านความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จัดโดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงแรมรอยัลไดมอนด์ อ.เมือง จ.เพชรบุรี

ประเด็นนำเสนอ การเปลี่ยนแปลงบริบทโลกและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 แนวทางการพัฒนาประเทศไทยเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 2 3 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข การบริหารระบบสาธารณสุขแบบมืออาชีพ เพื่อการรองรับประชาคมอาเซียน 4

การเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก… การเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก….ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันทางธุรกิจและระบบสังคมไทย Major Global Changes Change in Competition Platform & Business Model 1 Technological Change 6 Political Change 2 Climate Change Emergence of “the Second Economy” Conflict People participation Disaster Energy & food security Transforming 5 Cultural Change 3 International Economic Platform Change Change in Social System and Interaction 4 Demographical Structure Change Social value change More individualism Economic integration & connectivity Aging Society

International Economic Platform Change อำนาจทางเศรษฐกิจของโลกเริ่มเคลื่อนมาสู่เอเซีย Economic Integration: ประเทศต่างๆ สร้างอำนาจการแข่งขันด้วยการรวมกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาค เช่น ASEAN Economic Community (AEC) Economic Connectivity เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างพลังของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การเกิดกลุ่มเศรษฐกิจใหม่ที่มีศักยภาพ : BRICS Change in Competition Platform & Business Model Change in Social System and Interaction Single Market Production Base: ตลาดใหญ่ขึ้น และซับซ้อนมากขึ้น การเคลื่อนย้ายเสรีด้านสินค้า/บริการ/การลงทุน/ เงิน/แรงงาน Regional Supply Chain ขยายขึ้น การปรับตัวของคนต่อวัฒนธรรมที่หลากหลาย การเคลื่อนย้ายเสรีของคน อาจเกิดปัญหา เชิงสังคม เช่น ด้านแรงงาน สาธารณสุข อาชญากรรม

ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ ประชาคม เศรษฐกิจ ประชาคม สังคมและวัฒนธรรม One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม

การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ธรรมนูญของอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ AEC Blueprint ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASCC Blueprint ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง APSC Blueprint พัฒนาทางการเมือง คุ้มครอง สิทธิมนุษยชน ร่วมมือป้องกันทางทหารและความมั่นคงอาเซียน เพื่อความสงบสุข เป็นเอกภาพ สงบสุข และแข็งแกร่ง พัฒนามนุษย์ สวัสดิการสังคม ลดความยากจน ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส สร้างอัตลักษณ์อาเซียน พัฒนาสังคมผ่านกรอบอนุภูมิภาค แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ตลาด/ฐานการผลิตเดียว ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน มีการพัฒนาที่เท่าเทียม และ บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก One Vision, One Identity, One Community หนึ่งวิสัยทัศน์, หนึ่งเอกลักษณ์, หนึ่งประชาคม

ภาพรวมโอกาสประชาคมอาเซียน โอกาสของประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน เปรียบเทียบกับ... ประชากร 580 ล้าน > สหภาพยุโรป GDP ขนาด 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ = เกาหลีใต้ การค้าระหว่างประเทศ 1.61 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ 6 เท่าของไทย การลงทุนโดยตรง 50 พันล้านเหรียญสหรัฐ 60% ของจีน การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ 65 ล้านคน อันดับ 2 ของโลก รองจากฝรั่งเศส ที่มา บทวิเคราะห์จากศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ ASEAN 10 : 583 Millions of Pop. ( 9 % of the world's population) GDP 1,275 Billions USD (2% of the world’s GDP) ASEAN+3 : 2,068 Millions of Pop. (31 % of the world's population) GDP 9,901 Billions USD (18% of the world’s GDP) ASEAN+6 : 3,284 Millions of Pop. ( 50 % of the world's population) GDP 12,250 Billions USD (22% of the world’s GDP)

การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในอาเซียน ปี 2015 AEC Blueprint กำหนดทิศทางการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้ การปรับลดอัตราภาษีศุลกากร การยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษี การเคลื่อนย้ายบริการเสรี การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี การเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพ ใน 8 สาขา และ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ : แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ สถาปนิก วิศวกร ช่างสำรวจ นักบัญชี และบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว : ท่องเที่ยวและบริการ 32 สาขา กุมภาพันธ์ 2558 NESDB 6

การเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง ในปี 2558 ตามข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Agreements: MRAs) แพทย์ วิศวกรรม พยาบาล ทันตแพทย์ สถาปัตยกรรม นักบัญชี การสำรวจ บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว

การท่องเที่ยวและการบริการ 32 ตำแหน่งงานในสาขาการเดินทางและที่พัก Hotel Services (23 ตำแหน่งงานใน 4 แผนก) Travel Services (9 ตำแหน่งงานใน 2 สาขา) Food Production ภายใต้ MRA สาขาท่องเที่ยว ซึ่งเป็นการกำหนดคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวอาเซียน มีการกำหนดคุณสมบัติของบุคลากร 32 ตำแหน่งงาน ในสาขาที่การเดินทางและที่พัก ในสาขาการเดินทาง มีการกำหนดคุณสมบัติ 9 ตำแหน่งงานใน 2 สาขา ซึ่งได้แก่ Travel Agencies และ Tour Operation ในสาขาที่พัก มีการกำหนดคุณสมบัติ 23 ตำแหน่งงานใน 4 แผนก ซึ่งได้แก่ Front Office, House Keeping, Food Production และ Food and Beverage Services Tour Operation Front Office Travel Agencies F & B Services House Keeping nesdb

ประเด็นนำเสนอ การเปลี่ยนแปลงบริบทโลกและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 แนวทางการพัฒนาประเทศไทยเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 2 3 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข การบริหารระบบสาธารณสุข แบบมืออาชีพ เพื่อการรองรับประชาคมอาเซียน 4

จุดเน้นของยุทธศาสตร์ ๑ ๒ ๓ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 : ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม 23/03/2554 จุดเน้นของยุทธศาสตร์ “ให้ความสำคัญกับ 3 กลุ่ม สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม อนุภูมิภาค (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC) ๑ อาเซียน (ASEAN) ๒ เอเชียแปซิฟิก รวม อาเซียน+3 อาเซียน+6 เอเปค ๓ 9 แนว ทาง การ พัฒนา อนุภูมิภาค อาเซียน เอเชียแปซิฟิค เชื่อมโยงการขนส่ง / โลจิสติกส์ โดยพัฒนาบริการ คน ปรับปรุง กฎระเบียบ พัฒนาฐานการผลิต/ลงทุน ตามแนวพื้นที่พัฒนา เศรษฐกิจ และพัฒนา เศรษฐกิจชายแดน สร้างความพร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียน โดยพัฒนาบุคลากร เสริมสร้างสถาบันการเรียนรู้ให้มี มาตรฐาน เข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือ อย่างสร้างสรรค์ ระดับโลก และภูมิภาค ประเด็น ร่วมเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคโดยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ / เคลื่อนย้ายแรงงาน / ส่งเสริมแรงงานไทยใน ต่างประเทศ มีส่วนร่วมในการป้องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยาเสพติด ภัยพิบัติ และการแพร่ระบาดของโรคภัย สร้างความร่วมมือที่ดีในการสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรม ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เร่งรัดการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้แล้ว ปรับปรุงและสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนาในท้องถิ่น 1 2 3 4 5 6 7 8 9

แผนการสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AC) 1. พัฒนาความร่วมมือระหว่างรัฐและธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องกฎระเบียบและข้อตกลงต่างๆ เสริมสร้างความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญา แนวทางการขยายตลาดตามโอกาสและข้อตกลงใหม่ๆ ระบบการเยียยาผู้ได้รับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างและ การแข่งขัน ผลักดันให้ไทยมีบทบาทหน้าที่สร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศใน AC 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชนมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล พัฒนาทักษะด้านภาษา ฝีมือแรงงาน และความรอบรู้ด้านภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เพื่อเตรียมพร้อมแรงงานไทยสู่ตลาดแรงงานในอาเซียน 3. กำหนดมาตรฐานขั้นพื้นฐานของคุณภาพ สินค้าและบริการ กำหนดเกณฑ์/มาตรฐานในการนำเข้าสินค้าเพื่อป้องกันสินค้า/บริการที่ไม่ได้คุณภาพ กำหนดระบบบริหารจัดการร่วมในการพัฒนาทักษะและคุณสมบัติของแรงงานนำเข้า

นโยบายรัฐบาลที่สำคัญเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน น.5 การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน วางรากฐานระบบประกันสุขภาพให้ครอบคลุมประชากรทุกภาคส่วน ลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบบริการสุขภาพเน้นการป้องกันโรค และกระจายทรัพยากรสาธารณสุขให้เหมาะสม เสริมความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคระบาด พัฒนาขีดความสามารถการวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข น.7 การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน เร่งส่งเสริมความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน โดยใช้ประโยชน์จากโครงข่ายคมนาคมขนส่งและโทรคมนาคม การอำนวยความสะดวก เพื่อพัฒนาให้กรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลาง ธุรกิจ การค้า การลงทุน ของภูมิภาค พัฒนาศักยภาพการแข่งขันผู้ประกอบการทุกระดับ เร่งรัดและขยายผลการใช้ระบบคุณวุฒิวิชาชีพ โดยคำนึงถึงความเป็นเอกภาพกับระบบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานวิชาชีพใน 8 กลุ่มที่มีข้อตกลงการเปิดเสรีในอาเซียน ควบคู่ไปกับการวางแผนด้านการผลิตให้เพียงพอ เร่งพัฒนาความเชื่อมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยพัฒนาด่านการค้าชายแดนและโครงการการคมนาคมบริเวณประตูการค้าหลักของประเทศ

นโยบายการจัดสรรงบประมาณ วงเงิน 8,875.45 ลบ. ยุทธศาสตร์งบประมาณปี พ.ศ. 2559: การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป้าหมาย ประเทศได้รับประโยชน์จากการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่าง เต็มศักยภาพ ประเทศสามารถปฏิบัติตาม พันธกรณีที่สำคัญของประชาคม อาเซียน ตัวชี้วัด ประเทศไทยมีบทบาทสำคัญใน การขับเคลื่อนความเชื่อมโยงใน อนุภูมิภาคและภูมิภาคสูงขึ้น มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ของไทยกับอาเซียนเพิ่มขึ้นจาก ปี 2558 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 กฎหมายและระเบียนต่างๆ ได้รับการปรับปรุงให้เอื้อต่อการ ส่งเสริมบทบาทและการใช้ ประโยชน์จากข้อตกลง ประชาคมอาเซียน นโยบายการจัดสรรงบประมาณ วงเงิน 8,875.45 ลบ. สร้างโอกาสของประเทศในการเป็นประตูการค้าและการลงทุน ในภูมิภาค และเชื่อมโยงระบบ ASEAN single Window ส่งเสริมการลงทุน โดยใช้สิทธิพิเศษทางภาษี วัตถุดิบ และ แรงงานในภูมิภาค เสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการไทย ปรับปรุง/พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ พัฒนระบบคุ้มครองแรงงาน และยกระดับฝีมือแรงงาน พัฒนาระบบการศึกษา คุณภาพชีวิต คุ้มครองสวัสดิการสังคมใน ประชาคมอาเซียน ร่วมมือกันในการจัดการด้านทรัพยการธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ภัย พิบัติในกลุ่มประเทศอาเซียน พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศ ภาษาอาเชียน หน่วยงานเจ้าภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นร./ กห./กค./กต./กก./พม./กษ./คค./ทส./ทก./พน./พณ.มท./ยธ./รง./วธ./วท./ศธ./สธ./อก./ตช./ศย./รสก.

ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศไทยที่รองรับ AC การปฏิรูปด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สาธารณสุข จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อเฝ้าระวังโรคระบาดร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน และจัดทำระบบการบริหารจัดการความรู้เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชายแดนและพื้นที่ที่มีแรงงานข้ามชาติอาศัยอยู่ สิ่งแวดล้อม การปฏิรูปโครงสร้างและระบบการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ EHIA/EIA การผลักดันมาตรการภาษีสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างแรงจูงในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การปรับปรุงกฎหมายสิ่งแวดล้อมให้ทันสมัย เพิ่มการมีส่วนรวมในการตัดสินใจของประชาชน การปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ โครงสร้างพื้นฐาน และปัจจัยสนับสนุน ปรับแก้กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ลดความซ้ำซ้อน โปร่งใส เป็นธรรม คุ้มครองผู้ใช้บริการ ด้านการค้าและการลงทุน เร่งรัดการเชื่อมโยงระบบ National Single Window ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเชื่อมโยงไปยังภาคเอกชน เพื่ออำนวยความสะดวกได้แบบไร้เอกสารและลดต้นทุนการดำเนินงาน จัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการลงทุนและด้านธุรกิจที่สอดคล้องต่อทิศทางการพัฒนาในระดับประเทศและระดับภูมิภาคอาเซียน พัฒนามาตรฐานข้อมูลของประเทศที่สามารถเชื่อมโยงกับประเทศในอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประเด็นนำเสนอ การเปลี่ยนแปลงบริบทโลกและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 แนวทางการพัฒนาประเทศไทยเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 2 3 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข การบริหารระบบสาธารณสุขแบบมืออาชีพ เพื่อการรองรับประชาคมอาเซียน 4

SWOT Analysis ของระบบบริการสุขภาพประเทศไทย โอกาส การขยายตัวของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การแข่งขันสูงขึ้นนำไปสู่การพัฒนาบริการ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เกิดการขยายตัวของนวัตกรรมสุขภาพ เกิดตลาดสินค้าบริการผู้สูงอายุ การขยายตัวของตลาดสมุนไพรและการแพทย์ทางเลือก ความต้องการผลิตภัณฑ์ความงามและศัลยกรรมที่สูงขึ้น จุดแข็ง บุคลากรทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ การดูแลเอาใจใส่ผู้รับบริการ ค่าใช้จ่ายไม่สูง การบริการที่หลากหลาย ทันสมัย ความพร้อมของระบบสาธารณูปโภค โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ การแพทย์แผนไทย และผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย จุดอ่อน อัตราการผลิตและกระจายตัวของบุคลากรทางการแพทย์ ภาวะสมองไหล และการเข้าถึงการบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียม ขาดทักษะด้านภาษา การแข่งขันภายในประเทศสูง เวชภัณฑ์ส่วนใหญ่นำเข้าจากต่างประเทศ Generation Gap วัยแรงงานต้องทำงานมากขึ้น ไม่มีเวลาดูแลผู้สูงอายุ ภัยคุกคาม การแข่งขันจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีศักยภาพสูง เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของไทย ส่งผลให้ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงขึ้น ความเหลื่อมล้ำทางบริการสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ส่งผลต่อความต่อเนื่องในการดำเนินนโยบาย

ความท้าทายต่อการบริหารระบบบริการสุขภาพ ประเด็นท้าทาย บริหารจัดการอย่างไร การขับเคลื่อนนโยบาย Medical hub ที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบบริการสุขภาพปกติ และประชาชนคนไทยได้รับประโยชน์สูงสุด การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ที่จะสร้างอุปสงค์ต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพและการดูแลในรูปแบบที่หลากหลาย การเพิ่มขีดความสามารถทางการ แข่งขันของระบบบริการสุขภาพของ ประเทศ ที่จะพัฒนาให้เกิดคุณภาพบริการและมีการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุขอย่างเหมาะสม ที่จะสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของระบบป้องกันและควบคุมโรค การเพิ่มศักยภาพในการควบคุม โรคติดต่อ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์ ที่จะพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะและสามารถปรับตัวในการนำเทคโนโลยีมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประเด็นนำเสนอ การเปลี่ยนแปลงบริบทโลกและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 แนวทางการพัฒนาประเทศไทยเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 1 2 3 ประเด็นท้าทายที่ส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข การบริหารระบบสาธารณสุขแบบมืออาชีพ เพื่อการรองรับประชาคมอาเซียน 4

คุณลักษณะองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ในการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน Global Competency ด้านภาษา ด้าน IT การทำงานกับกลุ่มคนที่แตกต่าง Talent management พัฒนาองค์กรเป็น ‘Talent bank’ สร้าง high value added ในการทำงาน สร้าง พัฒนา รักษา ดึงดูดคนเก่งให้คงอยู่ Succession planning ทำแผนสืบทอดตำแหน่งงานหลัก สรรหาคนจาก Mid career พร้อมกับการพัฒนาความสามารถ สร้าง Future leader ประชาคม

ความสามารถของข้าราชการ - พนักงานในการปฏิบัติงานในระดับข้ามชาติ (Global Competency) ความสามารถในเรื่องของภาษา เดิมองค์กรมุ่งเน้นเฉพาะภาษาอังกฤษ ขณะที่หลายองค์กรเริ่มให้ความสำคัญกับเรื่องของภาษาที่ 3 คือ ภาษาอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศที่จะต้องเข้าไปดำเนินกิจการ ภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปได้สะดวก ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Literacy ช่วยให้การทำงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว ความสามารถในด้าน IT ส่งผลให้องค์กรสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ช่วยให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวไม่ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขของเวลาและสถานที่ ความสามารถในกลุ่มคุณลักษณะ(Attribute) การทำงานกับกลุ่มคนที่แตกต่างและหลากหลาย (Diversity at Work) มีความพร้อมในการปฏิบัติงานร่วมกับคนที่แตกต่างวัย แตกต่างวัฒนธรรม แตกต่างฐานความคิด จำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรต้องเตรียมความพร้อมพัฒนาความสามารถในด้านนี้ไว้ล่วงหน้า เนื่องจากเป็นความสามารถที่ต้องใช้ระยะเวลาในการเตรียมความพร้อม 17

การบริหารจัดการพนักงานที่มีขีดความสามารถสูง (Talent Management) การบริหารจัดการบุคลากรที่มีขีดความสามารถสูงเป็นความท้าทายที่สำคัญในการเตรียมความพร้อมรับการเปิดเสรีทางการค้าในกลุ่มประชาคมอาเซียน (AEC) ในปี 2558 องค์กรต้องพัฒนาตนเองให้เป็น “Talent Bank” คนเก่งอยากเข้ามาร่วมงาน เมื่ออยู่กับองค์กร คนเก่งดังกล่าวมีมูลค่าที่สูงขึ้น (High Value Added) ในขณะที่องค์กรก็ใช้คนเก่งเหล่านี้ไปสร้างมูลค่าเพิ่มในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการบุคลากรที่มีขีดความสามารถสูง องค์กรควรให้ความสำคัญกับการสร้าง พัฒนา รักษา ดึงดูดคนที่มีขีดความสามารถสูงให้มาก nesdb

การเตรียมบุคลากรสำหรับรองรับอนาคตขององค์กร (Succession Planning) การขยายตัวและการเติบโตขององค์กรในอนาคต หลายองค์กรจำเป็นอย่างยิ่ง ต้องมี Business Model ที่ดี เพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้าใน AC แต่อาจไม่เพียงพอ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีบุคลากรที่มีขีดความสามารถสูง จึงจำเป็นต้องมี การทำแผนการสืบทอดในตำแหน่งงานหลัก (Succession Planning) ในองค์กร การมีระบบและกระบวนการในการวางตำแหน่งที่สำคัญขององค์กร การเตรียมความพร้อมบุคลากร การสร้าง Talent Pool ให้มีสัดส่วนที่มากขึ้น โดยมีการวางแผนในการหาคนจาก Mid Career ควบคู่กับการพัฒนาบุคลากร ซึ่งเป็นเรื่องที่องค์กรต้องมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้า เพราะต้องใช้เวลา รวมทั้ง การดูแล “Future Leader” เพื่อให้มีความพร้อมมากที่สุดเมื่อต้องเผชิญกับภารกิจที่มีความท้าทายในอนาคต nesdb 19

คุณลักษณะของนักบริหารระบบสาธารณสุข

คุณลักษณะของนักบริหารระบบสาธารณสุข ภาวะผู้นำ การสื่อสาร และบริหาร ความสัมพันธ์ที่ดี การบริหารคุณภาพ การบริการ ความรอบรู้เรื่องระบบ บริการสาธารณสุข ความรอบรู้เรื่องระบบการบริหารธุรกิจ ที่มา: Stefl, Mary E. 2008 Common competencies for all healthcare managers: the Healthcare Leadership Alliance model The Free Library (November, 1)

คุณลักษณะของ นักบริหาร ระบบสาธารณสุข คุณลักษณะของ นักบริหาร ระบบสาธารณสุข ความรอบรู้เรื่องระบบบริการสาธารณสุข โครงสร้างและขั้นตอนการบริการในรูปแบบต่างๆ หน่วยงานและบุคลากรสาธารณสุข บริบทของผู้รับบริการ ปัจจัยแวดล้อมที่สำคัญ เศรษฐศาตร์สาธารณสุข ภาวะผู้นำ วิสัยทัศน์ ความสามารถในการโน้มน้าวจูงใจ กลยุทธ์ในการนำพาบุคลากรและองค์กรไปสู่เป้าหมาย บริหารความเสี่ยงและความเปลี่ยนแปลง ความรอบรู้เรื่องระบบการบริหารธุรกิจ การเงินและการบัญชี การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารองค์กร การจัดการความเสี่ยง การสื่อสารและบริหารความสัมพันธ์ที่ดี สื่อสารได้ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา ความสัมพันธ์ที่ดีกับทั้งคนในองค์กรและนอกองค์กร สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการทำงานและการตัดสินใจ บริหารความขัดแย้งและเจรจาความตกลง การบริหารคุณภาพการบริการ มาตรฐานจริยธรรมและการบริการวิชาชีพ การใส่ใจต่อสมรรถนะการบริการที่ดี เพิ่มพูนทักษะความรู้อย่างสม่ำเสมอ

การบริหารแบบมืออาชีพเพื่อการรองรับประชาคมอาเซียน ความรอบรู้เรื่องระบบบริการสาธารณสุข รู้ผลกระทบต่อระบบบริการสาธารณสุขในบริบทอาเซียน เช่น การเปิดเสรีด้านแรงงาน (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล) การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การสาธารณสุขชายแดน และการระบาดของโรค การให้บริการด้วยระบบการเงินการคลังที่เชื่อมโยงกับระบบประกันสุขภาพต่างชาติ ภาวะผู้นำ วางแผน/ผลักดันยุทธศาสตร์องค์กรให้สอดรับกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ โดยคำนึงถึงบริบทอาเซียน เสริมสร้างจุดแข็ง/ลดจุดอ่อน และเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันขององค์กร ความรอบรู้เรื่องระบบการบริหารธุรกิจ การบริหารทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะทักษะด้านภาษาและวัฒนธรรม และเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการให้บริการในรูปแบบใหม่ๆ ศึกษาความต้องการของตลาดอาเซียนที่มีพลวัตรสูงอย่างต่อเนื่อง การสื่อสารและบริหารความสัมพันธ์ที่ดี ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการหากลยุทธ์ร่วมกัน ประชาสัมพันธ์นโยบายที่เปลี่ยนแปลงให้คนภายใน/นอกองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในภูมิภาค เสริมสร้างเอกลักษณ์การบริการเพื่อขยายตลาด การบริหารคุณภาพการบริการ ให้ความสำคัญกับการเข้าถึงบริการที่เท่าเทียมกัน ยกระดับมาตรฐานการให้บริการทางการแพทย์ระดับสากล ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ส่งเสริมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ทรัพยากรมนุษย์คือความท้าทายของนักบริหารมืออาชีพ

“รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง” ความสำคัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต เราจะต้องเผชิญหน้ากับ แรงผลักให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Force of Change) ที่รุนแรงและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยการเปิดเสรีของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2015 องค์กรที่มี การเตรียมความพร้อมที่มากกว่าย่อมมีความได้เปรียบ “รู้เขารู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง” ” 24

ขอบคุณ www.nesdb.go.th